ปัญหาและอุปสรรคการจัดการระบายน้ำฝนในบริบทเมืองที่มีการเติบโตทางกายภาพอย่างรวดเร็ว: กรณีศึกษาพื้นที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน

วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถา...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ศนิ ลิ้มทองสกุล
Language:Tha
Published: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/136791/101950
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66266
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66266
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-662662019-08-21T09:18:25Z ปัญหาและอุปสรรคการจัดการระบายน้ำฝนในบริบทเมืองที่มีการเติบโตทางกายภาพอย่างรวดเร็ว: กรณีศึกษาพื้นที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน Impediments and hindrances for urban runoff management in the context of rapid urban growth:a case study of Kasetsart University, Bangkhen Campus ศนิ ลิ้มทองสกุล การจัดการน้ำฝนในเมือง น้ำท่วมขังหลังฝนตก ความเสี่ยงจากการเกิดน้ำท่วมขังหลังฝนตก การจัดรูปองค์กรเพื่อจัดการระบายน้ำฝน วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบัน การเจริญเติบโตทางกายภาพของเมืองอย่างรวดเร็ว การขาดแคลนระบบระบายน้ำฝน ความด้อยประสิทธิภาพของการจัดการระบายน้ำฝนและป้องกันน้ำท่วม เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดน้ำท่วมขังในเมืองหลังฝนตก บทความวิจัยชิ้นนี้มุ่งศึกษาปัญหาและอุปสรรคการจัดการระบายน้ำฝนและป้องกันน้ำท่วมขังในบริบทเมืองที่เป็นพื้นที่ลุ่มต่ำและมีการเติบโตทางกายภาพอย่างรวดเร็วว่ามีลักษณะอย่างไร โดยใช้พื้นที่ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขนเป็นกรณีศึกษา การวิจัยชิ้นนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพที่ใช้การผสมผสานระหว่างข้อมูลเชิงเอกสารและข้อมูลจากภาคสนามอันได้แก่ การสำรวจพื้นที่และการสัมภาษณ์แบบเจาะจงกับผู้เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่าลักษณะการเกิดน้ำท่วมขังในวิทยาเขตหลังฝนตกขึ้นอยู่กับความสามารถของพื้นที่ในการหน่วงกักเก็บน้ำและลักษณะของระบบระบายน้ำฝนออกจากพื้นที่ สาเหตุของการเกิดน้ำท่วมขังหลังฝนตกมาจากระบบระบายน้ำที่ไม่ต่อเนื่องและแหล่งน้ำธรรมชาติที่หายไปจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินการเกิดพื้นที่ลุ่มต่ำเสี่ยงต่อการถูกน้ำท่วมขังเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงพื้นที่เพื่อสร้างสิ่งปลูกสร้างหรือปรับปรุงภูมิทัศน์ใหม่ การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ทางกายภาพที่ไม่สอดคล้องแนวทางผังแม่บท การลดลงของปริมาณพื้นผิวพรุนน้ำอย่างต่อเนื่อง และการขาดการบูรณาการระหว่างการวางแผนการใช้ที่ดินและการจัดการระบายน้ำฝน ข้อมูลเชิงประจักษ์จากผลการศึกษาสอดคล้องกับผลของงานวิจัยก่อนหน้าหลายชิ้นที่แสดงให้เห็นว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อปัญหาของการจัดการน้ำฝนและการป้องกันน้ำท่วมขังในเขตเมือง มิใช่เพียงประสิทธิภาพระบบการระบายน้ำเชิงวิศวกรรมเท่านั้นแต่ยังรวมถึงนโยบายและแนวทางการใช้ที่ดิน มหาวิทยาลัยควรพัฒนาข้อมูลพื้นฐานเชิงกายภาพของผังการใช้ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างให้เป็นปัจจุบันเพื่อส่งเสริมการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ ตลอดจนสร้างความตระหนักรู้ร่วมกันแก่สาธารณะของความสำคัญในการสงวนรักษาพื้นที่เปิดโล่งพรุนน้ำ ควรมีการจัดรูปองค์กรที่ส่งเสริมให้เกิดกลไกการสื่อสารระหว่างคณะกรรมการพัฒนากายภาพ หน่วยงานวางผังแม่บทและกองยานพาหนะและอาคารสถานที่ เปิดโอกาสให้ข้อมูลไหลเวียนย้อนไปและกลับเพื่อปรับปรุงการดำเนินการระหว่างแผนและการปฏิบัติเพื่อให้ได้แนวทางการจัดการสภาพแวดล้อมทางกายภาพของวิทยาเขตบางเขนที่ตอบสนองการเปลี่ยนแปลง และลดความเสี่ยงจากการเกิดน้ำท่วมขังหลังฝนตกได้ในระยะยาว 2019-08-21T09:18:25Z 2019-08-21T09:18:25Z 2561 เจ-ดี : วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม 5, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 2-19 2351-0935 https://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/136791/101950 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66266 Tha คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic การจัดการน้ำฝนในเมือง
น้ำท่วมขังหลังฝนตก
ความเสี่ยงจากการเกิดน้ำท่วมขังหลังฝนตก
การจัดรูปองค์กรเพื่อจัดการระบายน้ำฝน
spellingShingle การจัดการน้ำฝนในเมือง
น้ำท่วมขังหลังฝนตก
ความเสี่ยงจากการเกิดน้ำท่วมขังหลังฝนตก
การจัดรูปองค์กรเพื่อจัดการระบายน้ำฝน
ศนิ ลิ้มทองสกุล
ปัญหาและอุปสรรคการจัดการระบายน้ำฝนในบริบทเมืองที่มีการเติบโตทางกายภาพอย่างรวดเร็ว: กรณีศึกษาพื้นที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
description วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบัน
author ศนิ ลิ้มทองสกุล
author_facet ศนิ ลิ้มทองสกุล
author_sort ศนิ ลิ้มทองสกุล
title ปัญหาและอุปสรรคการจัดการระบายน้ำฝนในบริบทเมืองที่มีการเติบโตทางกายภาพอย่างรวดเร็ว: กรณีศึกษาพื้นที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
title_short ปัญหาและอุปสรรคการจัดการระบายน้ำฝนในบริบทเมืองที่มีการเติบโตทางกายภาพอย่างรวดเร็ว: กรณีศึกษาพื้นที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
title_full ปัญหาและอุปสรรคการจัดการระบายน้ำฝนในบริบทเมืองที่มีการเติบโตทางกายภาพอย่างรวดเร็ว: กรณีศึกษาพื้นที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
title_fullStr ปัญหาและอุปสรรคการจัดการระบายน้ำฝนในบริบทเมืองที่มีการเติบโตทางกายภาพอย่างรวดเร็ว: กรณีศึกษาพื้นที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
title_full_unstemmed ปัญหาและอุปสรรคการจัดการระบายน้ำฝนในบริบทเมืองที่มีการเติบโตทางกายภาพอย่างรวดเร็ว: กรณีศึกษาพื้นที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
title_sort ปัญหาและอุปสรรคการจัดการระบายน้ำฝนในบริบทเมืองที่มีการเติบโตทางกายภาพอย่างรวดเร็ว: กรณีศึกษาพื้นที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
publisher คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/136791/101950
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66266
_version_ 1681426422762045440