แนวทางการกำหนดเขตจัดการเชิงทัศน์เพื่ออนุรักษ์มุมมองของพระธาตุดอยสุเทพจากพื้นที่ถนนราชดำเนิน จังหวัดเชียงใหม่
วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถา...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/129412/119280 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66269 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-66269 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-662692019-08-21T09:18:25Z แนวทางการกำหนดเขตจัดการเชิงทัศน์เพื่ออนุรักษ์มุมมองของพระธาตุดอยสุเทพจากพื้นที่ถนนราชดำเนิน จังหวัดเชียงใหม่ Guidelines for designation of visual management zone to preserve viewpoints of Phrathat Doi Suthep from Ratchadamnoen Road Chiang Mai Province นลิน บุตรคำ อังสนา บุณโยภาส รุจิโรจน์ อนามบุตร พระธาตุดอยสุเทพ ดอยสุเทพ เขตจัดการเชิงทัศน์ การประเมินคุณภาพเชิงทัศน์ วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบัน ดอยสุเทพและพระธาตุดอยสุเทพเป็นเอกลักษณ์สำคัญที่อยู่คู่กับเชียงใหม่มาช้านาน ประวัติศาสตร์ การสร้างเมือง และการดำเนินชีวิตล้วนเกี่ยวข้องกับดอยสุเทพ ดอยสุเทพและพระธาตุดอยสุเทพจึงเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวเชียงใหม่ที่ถือว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ในอดีตจะสามารถเห็นพระธาตุดอยสุเทพได้เกือบทั่วทุกที่ แต่ปัจจุบันเมืองมีการขยายตัวมากขึ้น ส่งผลให้มุมมองที่เคยเห็นพระธาตุและดอยสุเทพได้ชัดเจนมีน้อยลงการวิจัยนี้จึงมุ่งที่จะวิเคราะห์หาแนวทางในการพัฒนาเมืองเพื่ออนุรักษ์มุมมองของพระธาตุดอยสุเทพจากพื้นที่สำคัญทางประวัติศาสตร์และเศรษฐกิจของเมือง คือ ถนนราชดำาเนินที่เป็นแนวแกนของเมือง โดยการประเมินคุณค่าเชิงทัศน์ของพื้นที่ ด้วยการแบ่งพื้นที่ตามแนวถนนออกเป็นหน่วยเชิงทัศน์ เพื่อหาจุดถ่ายภาพตัวแทนของพื้นที่ศึกษาแล้วจึงเอาภาพที่คัดเลือกได้มาทำ การปรับปรุงคุณภาพเชิงทัศน์เพื่อให้สามารถมองเห็นดอยสุเทพได้ชัดเจนขึ้น 3 แนวทางเลือก คือ การจัดระเบียบภูมิทัศน์ปัจจุบัน การจำลองสภาพเมื่อมีอาคารตามกฎหมายเทศบัญญัติและการปรับปรุงควบคุมอาคารตามอุดมคติ หลังจากนั้นจึงนำภาพที่ได้ไปสร้างแบบสอบถามเพื่อสำรวจทัศนคติของคนเชียงใหม่ นักท่องเที่ยว และนักออกแบบสิ่งแวดล้อม ต่อแนวทางเลือกดังกล่าว ซึ่งพบว่ากลุ่มผู้ตอบมีความชื่นชอบต่อสภาพแวดล้อมที่มีการจัดระเบียบภูมิทัศน์สูงกว่าสภาพใน ปัจจุบัน แต่ความชื่นชอบลดลงเมื่อมีอาคารตามกฎหมายเทศบัญญัติเกิดขึ้น และมีความชื่นชอบสูงสุดเมื่อปรับปรุงเมืองตามลักษณะในอุดมคติ คือมีพื้นที่สาธารณะสีเขียวมากขึ้นและสามารถมองเห็นดอยสุเทพได้อย่างชัดเจน แล้วจึงนำผลที่ได้มาประมวลผลทางสถิติ เพื่อนำข้อมูลมาประกอบในการหาแนวทางสำรับการกำหนดเขตจัดการเชิงทัศน์ สำหรับการอนุรักษ์มุมมองพระธาตุดอยสุเทพจากพื้นที่ถนนราชดำเนินต่อไป 2019-08-21T09:18:25Z 2019-08-21T09:18:25Z 2561 เจ-ดี : วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม 5, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 2-25 2351-0935 https://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/129412/119280 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66269 Tha คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
พระธาตุดอยสุเทพ ดอยสุเทพ เขตจัดการเชิงทัศน์ การประเมินคุณภาพเชิงทัศน์ |
spellingShingle |
พระธาตุดอยสุเทพ ดอยสุเทพ เขตจัดการเชิงทัศน์ การประเมินคุณภาพเชิงทัศน์ นลิน บุตรคำ อังสนา บุณโยภาส รุจิโรจน์ อนามบุตร แนวทางการกำหนดเขตจัดการเชิงทัศน์เพื่ออนุรักษ์มุมมองของพระธาตุดอยสุเทพจากพื้นที่ถนนราชดำเนิน จังหวัดเชียงใหม่ |
description |
วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบัน |
author |
นลิน บุตรคำ อังสนา บุณโยภาส รุจิโรจน์ อนามบุตร |
author_facet |
นลิน บุตรคำ อังสนา บุณโยภาส รุจิโรจน์ อนามบุตร |
author_sort |
นลิน บุตรคำ |
title |
แนวทางการกำหนดเขตจัดการเชิงทัศน์เพื่ออนุรักษ์มุมมองของพระธาตุดอยสุเทพจากพื้นที่ถนนราชดำเนิน จังหวัดเชียงใหม่ |
title_short |
แนวทางการกำหนดเขตจัดการเชิงทัศน์เพื่ออนุรักษ์มุมมองของพระธาตุดอยสุเทพจากพื้นที่ถนนราชดำเนิน จังหวัดเชียงใหม่ |
title_full |
แนวทางการกำหนดเขตจัดการเชิงทัศน์เพื่ออนุรักษ์มุมมองของพระธาตุดอยสุเทพจากพื้นที่ถนนราชดำเนิน จังหวัดเชียงใหม่ |
title_fullStr |
แนวทางการกำหนดเขตจัดการเชิงทัศน์เพื่ออนุรักษ์มุมมองของพระธาตุดอยสุเทพจากพื้นที่ถนนราชดำเนิน จังหวัดเชียงใหม่ |
title_full_unstemmed |
แนวทางการกำหนดเขตจัดการเชิงทัศน์เพื่ออนุรักษ์มุมมองของพระธาตุดอยสุเทพจากพื้นที่ถนนราชดำเนิน จังหวัดเชียงใหม่ |
title_sort |
แนวทางการกำหนดเขตจัดการเชิงทัศน์เพื่ออนุรักษ์มุมมองของพระธาตุดอยสุเทพจากพื้นที่ถนนราชดำเนิน จังหวัดเชียงใหม่ |
publisher |
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2019 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/129412/119280 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66269 |
_version_ |
1681426423312547840 |