แนวทางการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวและภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติประเภทพุน้ำร้อน

วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถา...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ศุภกิจ ยิ้มสรวล
Language:Tha
Published: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/203345/141805
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66281
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66281
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-662812019-08-21T09:18:25Z แนวทางการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวและภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติประเภทพุน้ำร้อน Tourism facilities and landscape design guideline for natural hot spring tourist attraction ศุภกิจ ยิ้มสรวล แนวทางการออกแบบ สิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยว ภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติพุน้ำร้อน วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบัน การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อกำหนดแนวทางการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกทางการ ท่องเที่ยวและภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติประเภทพุน้ำร้อนในประเทศไทย โดยทำการศึกษาจากแหล่งพุน้ำร้อนในพื้นที่ภาคเหนือ ตามเส้นทางสายพุน้ำร้อน เมืองสปาและหมู่บ้านพุน้ำร้อนต้นแบบน้ำร่องเส้นทางที่ 1 (จ. แม่ฮ่องสอน - จ. เชียงใหม่ - จ. เชียงราย) โดยประยุกต์หลักการจำแนกเขตท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยหลักช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ หรือ The recreation opportunity spectrum (ROS) เพื่อใช้จำแนกประเภทและความเหมาะสมในการพัฒนาแหล่งพุน้ำร้อนตามประเด็นพิจารณา 3 ประการ ได้แก่ 1) ศักยภาพและคุณภาพของแหล่งพุน้ำร้อน 2) บริบททางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนโดยรอบแหล่งพุน้ำ ร้อน 3) การบริหารจัดการแหล่งพุน้ำร้อนในมิติของแหล่งท่องเที่ยว โดยพิจารณาควบคู่กับการศึกษาด้านขีดความสามารถในการรองรับของพื้นที่ (carrying capacity, CC) ระดับการเปลี่ยนแปลงที่ยอมรับได้ (limits of acceptable change, LAC) และรูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เหมาะสม ประกอบกับการสำรวจภาคสนามทางกายภาพเพื่อจัดทำข้อมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) และแผนที่ฐาน (base map) พื้นที่พุน้ำร้อน จากนั้นจึงนำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการวิเคราะห์เพื่อกำหนดแนวทางการวางผังบริเวณ การใช้ประโยชน์ที่ดิน ภูมิสถาปัตยกรรมที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ โดยสามารถสรุปรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินได้ 3 ประเภท ได้แก่ พื้นที่ธรรมชาติและสงวนรักษา พื้นที่สีเขียวเพื่อนันทนาการ และพื้นที่ควบคุมเพื่อสิ่งแวดล้อม สำหรับการพัฒนาต้นแบบสิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยว ประกอบด้วย สิ่งอำนวยความสะดวกด้านการเข้าถึงและระบบสัญจร สิ่งอำนวยความสะดวกด้านสิ่งปลูกสร้างและสิ่งอำนวยความสะดวกประกอบบริเวณนั้น การวิจัยได้ทำการสำรวจข้อมูลภูมิปัญญา วัฒนธรรมท้องถิ่นของชุมชนโดยรอบพื้นที่พุน้ำร้อน อาทิ สถาปัตยกรรม ผลิตภัณฑ์ ศิลปหัตถกรรมและการใช้วัสดุท้องถิ่น เพื่อนำมาวิเคราะห์และสร้างภาพลักษณ์สถานที่ (destination image) เพื่อให้การพัฒนาต้นแบบสิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวมีความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและและภูมิทัศน์วัฒนธรรมท้องถิ่น รวมทั้งสามารถแสดงภาพลักษณ์สถานที่ที่แตกต่างกันของแหล่งพุน้ำร้อนได้ 2019-08-21T09:18:25Z 2019-08-21T09:18:25Z 2561 เจ-ดี : วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม 5, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 100-129 2351-0935 https://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/203345/141805 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66281 Tha คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic แนวทางการออกแบบ
สิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยว
ภูมิสถาปัตยกรรม
แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติพุน้ำร้อน
spellingShingle แนวทางการออกแบบ
สิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยว
ภูมิสถาปัตยกรรม
แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติพุน้ำร้อน
ศุภกิจ ยิ้มสรวล
แนวทางการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวและภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติประเภทพุน้ำร้อน
description วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบัน
author ศุภกิจ ยิ้มสรวล
author_facet ศุภกิจ ยิ้มสรวล
author_sort ศุภกิจ ยิ้มสรวล
title แนวทางการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวและภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติประเภทพุน้ำร้อน
title_short แนวทางการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวและภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติประเภทพุน้ำร้อน
title_full แนวทางการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวและภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติประเภทพุน้ำร้อน
title_fullStr แนวทางการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวและภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติประเภทพุน้ำร้อน
title_full_unstemmed แนวทางการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวและภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติประเภทพุน้ำร้อน
title_sort แนวทางการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวและภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติประเภทพุน้ำร้อน
publisher คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/203345/141805
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66281
_version_ 1681426425511411712