การศึกษาอุปกรณ์เพื่อใช้หาระยะการติดตั้งอุปกรณ์ช่วยพยุง (ราวจับ) และระยะการติดตั้งราวจับที่ใช้วัสดุท้องถิ่น

วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถา...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ปิยเดช อัครโพธิวงศ์
Language:Tha
Published: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/160201/143088
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66287
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66287
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-662872019-08-21T09:18:25Z การศึกษาอุปกรณ์เพื่อใช้หาระยะการติดตั้งอุปกรณ์ช่วยพยุง (ราวจับ) และระยะการติดตั้งราวจับที่ใช้วัสดุท้องถิ่น Developing devices for handrail installation and dimensions of handrail installation in local materials ปิยเดช อัครโพธิวงศ์ ราวจับ วัสดุทดแทน ผู้สูงอายุ วัสดุท้องถิ่น การออกแบบเพื่อคนทุกคน วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบัน บทความวิจัยนี้มุ่งเน้นที่การพัฒนาอุปกรณ์เพื่อใช้หาระยะการติดตั้งอุปกรณ์ช่วยพยุง (ราวจับ) และ พัฒนาอุปกรณ์ช่วยพยุง (ราวจับ) ที่ใช้วัสดุท้องถิ่น รวมถึงศึกษาระยะราวจับที่ใช้วัสดุท้องถิ่นที่แตกต่างกัน โดยมีข้อสันนิษฐานว่ามาตรฐานการติดตั้งราวจับในอาคารที่ใช้กันทั่วไป อาจมีความแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคลเนื่องมาจากสภาพทางกายภาพที่แตกต่างกันของผู้ใช้รวมถึงวัสดุที่แตกต่าง (วัสดุท้องถิ่นและวัสดุทำราวจับมาตรฐาน เช่น สแตนเลส) อาจมีผลต่อระยะของการติดตั้งด้วยเช่นกัน โดยอุปกรณ์วัดระยะที่พัฒนาขึ้นมาสามารถใช้วัดระยะราวจับที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุหรือผู้พิการในพื้นที่จริง เพื่อหาระยะที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุหรือผู้พิการที่อยู่อาศัยในอาคารหรือพื้นที่นั้นๆ รวมถึงอุปกรณ์ดังกล่าวยังใช้ในการทดสอบความสัมพันธ์ของการใช้วัสดุที่แตกต่างกันกับระยะการติดตั้งว่ายังสัมพันธ์กับระยะมาตรฐานที่ใช้โดยทั่วไปหรือไม่ งานวิจัยนี้ได้พัฒนาอุปกรณ์วัดระยะดังกล่าวและทดลองในการติดตั้งนอกพื้นที่ พบว่า ติดตั้งได้อย่างสะดวกและผลการทดลองที่ใช้ในการทดสอบความสัมพันธ์ ระหว่างวัสดุที่แตกต่างกับระยะการติดตั้งนั้นมีผลในการเปลี่ยนวัสดุและทดสอบกับผู้สูงอายุในกรุงเทพฯ โดยระยะการติดตั้งที่ พึงพอใจของผู้สูงอายุส่วนใหญ่อยู่ที่อายุ 61 - 70 ปี และมีค่าเฉลี่ยการติดราวจับด้านข้างที่ระยะ 75 เซนติเมตร ซึ่งสูงกว่าระยะมาตรฐานที่กำหนดโดย กฎกระทรวง พ.ศ.2548 ที่กำหนดไว้ที่ 65 - 70 เซนติเมตร ข้อสรุปที่ได้จากงานวิจัยนี้พบว่า อุปกรณ์ในการช่วยหาระยะการติดตั้งมีความจำเป็นเนื่องจากผู้สูงอายุหรือผู้พิการในแต่ละพื้นที่อาจมีความพึงพอใจในระยะการติดตั้งอุปกรณ์ราวจับแตกต่างกันออกไป อุปกรณ์ดังกล่าวจะช่วยให้ผู้ใช้สามารถกำหนดระยะที่เหมาะสมตามแต่ละบุคคลได้ อีกทั้งการเปลี่ยนชนิดของวัสดุอาจมีผลต่อระยะการติดตั้งได้ ซึ่งในพื้นที่ที่ไม่สามารถหาอุปกรณ์ที่ใช้วัสดุมาตรฐาน เช่น สแตนเลส และใช้วัสดุทดแทนจากท้องถิ่น เช่น ท่อ PVC ไม้ไผ่ หรือท่อเหล็กซึ่งหาง่ายและราคาถูก อาจต้องการอุปกรณ์ในการช่วยหาระยะติดตั้งเพื่อให้ผู้สูงอายุหรือผู้พิการใช้งานราวจับที่ทำจากวัสดุดังกล่าวได้อย่างมั่นใจและมีความปลอดภัยมากขึ้น 2019-08-21T09:18:25Z 2019-08-21T09:18:25Z 2562 เจ-ดี : วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม 6, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2562), 74-91 2351-0935 https://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/160201/143088 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66287 Tha คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ราวจับ
วัสดุทดแทน
ผู้สูงอายุ
วัสดุท้องถิ่น
การออกแบบเพื่อคนทุกคน
spellingShingle ราวจับ
วัสดุทดแทน
ผู้สูงอายุ
วัสดุท้องถิ่น
การออกแบบเพื่อคนทุกคน
ปิยเดช อัครโพธิวงศ์
การศึกษาอุปกรณ์เพื่อใช้หาระยะการติดตั้งอุปกรณ์ช่วยพยุง (ราวจับ) และระยะการติดตั้งราวจับที่ใช้วัสดุท้องถิ่น
description วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบัน
author ปิยเดช อัครโพธิวงศ์
author_facet ปิยเดช อัครโพธิวงศ์
author_sort ปิยเดช อัครโพธิวงศ์
title การศึกษาอุปกรณ์เพื่อใช้หาระยะการติดตั้งอุปกรณ์ช่วยพยุง (ราวจับ) และระยะการติดตั้งราวจับที่ใช้วัสดุท้องถิ่น
title_short การศึกษาอุปกรณ์เพื่อใช้หาระยะการติดตั้งอุปกรณ์ช่วยพยุง (ราวจับ) และระยะการติดตั้งราวจับที่ใช้วัสดุท้องถิ่น
title_full การศึกษาอุปกรณ์เพื่อใช้หาระยะการติดตั้งอุปกรณ์ช่วยพยุง (ราวจับ) และระยะการติดตั้งราวจับที่ใช้วัสดุท้องถิ่น
title_fullStr การศึกษาอุปกรณ์เพื่อใช้หาระยะการติดตั้งอุปกรณ์ช่วยพยุง (ราวจับ) และระยะการติดตั้งราวจับที่ใช้วัสดุท้องถิ่น
title_full_unstemmed การศึกษาอุปกรณ์เพื่อใช้หาระยะการติดตั้งอุปกรณ์ช่วยพยุง (ราวจับ) และระยะการติดตั้งราวจับที่ใช้วัสดุท้องถิ่น
title_sort การศึกษาอุปกรณ์เพื่อใช้หาระยะการติดตั้งอุปกรณ์ช่วยพยุง (ราวจับ) และระยะการติดตั้งราวจับที่ใช้วัสดุท้องถิ่น
publisher คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/160201/143088
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66287
_version_ 1681426426632339456