กลุ่มชาติพันธุ์จากพม่า และการสร้าง ความเป็นพม่า ผ่านจิตรกรรมฝาผนังในล้านนา

วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่า...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ธัญญารัตน์ อภิวงค์
Language:Tha
Published: คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77838/73359
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66342
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66342
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-663422019-08-21T09:18:26Z กลุ่มชาติพันธุ์จากพม่า และการสร้าง ความเป็นพม่า ผ่านจิตรกรรมฝาผนังในล้านนา Ethnic groups from Burma(Myanmar) and the creation of a common Burmese-ness through mural paintings in Lanna ธัญญารัตน์ อภิวงค์ พม่า ชาติพันธุ์ จิตรกรรมฝาผนัง ล้านนา วัดในภาคเหนือ Burmese Burma Myanmar ethnicity mural paintings วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) ดินแดนล้านนาหรือภาคเหนือของไทยมีความหลากหลายทางชาติพันธุ์และการผสมผสานของพหุวัฒนธรรมที่แตกต่างจากพื้นที่แห่งอื่นในประเทศไทย จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณสถานชี้ให้เห็นว่าภาคเหนือเป็นพื้นที่ซึ่งมีร่องรอยที่แสดงถึงการยอมรับวัฒนธรรมทางวัตถุแบบพม่า เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมทางวัตถุในสังคมท้องถิ่น เนื่องด้วยเหตุผลที่สำคัญ คือ การที่ล้านนาเคยถูกปกครองโดยพม่าถึงสองร้อยกว่าปี ( ค.ศ.1558-1774) แม้จะไม่มีร่องรอยของสิ่งก่อสร้างแบบพม่าจากยุคนี้หลงเหลือให้เห็นมากนักในปัจจุบัน แต่ก็ถือได้ว่าเป็นรากฐานที่ทำให้ผู้คนในภาคเหนือคุ้นเคยกับการมีอยู่ของวัฒนธรรมพม่าภายในท้องถิ่น และอีกหนึ่งเหตุผลที่สำคัญคือ การที่พระเจ้ากาวิละ(เจ้าเมืองเชียงใหม่ ค.ศ.1782-1813) กวาดต้อนผู้คนจากดินแดนใกล้เคียง (ปัจจุบันอยู่ในเขตประเทศพม่า) เข้ามาเป็นพลเมืองของล้านนา ทำให้ล้านนามีประชากรที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ต่อเนื่องด้วยการหลั่งไหลเข้ามาของชาวพม่าที่เข้ามากับบริษัทค้าไม้ของอังกฤษในยุคอาณานิคม จนกลายมาเป็นกลุ่มนายทุนและพ่อค้าที่สำคัญต่อเศรษฐกิจล้านนาในปลายศริสต์ศตวรรษที่19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เกิดเป็นชุมชนชาวพม่าผู้สร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมแบบพม่าให้เป็นที่รับรู้ในสังคมไทย กลุ่มชาติพันธุ์จากพม่าที่อพยพเข้ามาในล้านนาอย่างต่อเนื่องจึงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดวัฒนธรรมทางวัตถุแบบพม่าสู่สังคมท้องถิ่น ทำให้ภาพอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของพม่าครอบคลุมอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์อื่นที่ไม่ใช่พม่า และกลายเป็นตัวแทนของอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมแบบพม่าให้คนไทยได้รับรู้ จิตรกรรมฝาผนัง เป็นหนึ่งในวัฒธรรมทางวัตถุที่แสดงให้เห็นความหลากหลายทางชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ร่วมกันในสังคม การวาดจิตกรรมฝาผนังภายในวัดซึ่งถือเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ไม่เพียงแต่เป็นการส่งผ่านแนวคิด คำสอนและเรื่องเล่าทางพุทธศาสนา ยังสะท้อนความคิดและอุดมการณ์ของคนในชุมชนท้องถิ่นที่ได้ไตร่ตรองผ่านการจัดวางองค์ประกอบของภาพในการเล่าเรื่อง(กรีน 2558, 34) ภาพที่ปรากฏบนจิตรกรรมฝาผนังภายในวัดมักแสดงให้เห็นความหลากหลายทางชาติพันธุ์ของชุมชนท้องถิ่น โดยพิจารณาได้จากเครื่องแต่งกาย ทรงผม และหนวดเคราบนใบหน้า(Wyatt 2004, 68) หากสังเกตจากเครื่องแต่งกายและทรงผมของบุคคลที่ปรากฏบนจิตรกรรมฝาผนัง ทำให้เราเห็นภาพของชาวพม่า(บุคคลที่แต่งกายแบบพม่า) ปรากฏอยู่บนจิตรกรรมฝาผนังของวัดหลายแห่งในภาคเหนือ สะท้อนให้เห็นว่าจิตรกรรมฝาผนังเหล่านี้ได้รับการอุปถัมภ์โดยคหบดีชาวพม่าที่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ในภาคเหนือของประเทศไทยในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 2019-08-21T09:18:26Z 2019-08-21T09:18:26Z 2560 วารสารวิจิตรศิลป์ 8, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2560), 23-59 1906-0572 https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77838/73359 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66342 Tha คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic พม่า
ชาติพันธุ์
จิตรกรรมฝาผนัง
ล้านนา
วัดในภาคเหนือ
Burmese
Burma
Myanmar
ethnicity
mural paintings
spellingShingle พม่า
ชาติพันธุ์
จิตรกรรมฝาผนัง
ล้านนา
วัดในภาคเหนือ
Burmese
Burma
Myanmar
ethnicity
mural paintings
ธัญญารัตน์ อภิวงค์
กลุ่มชาติพันธุ์จากพม่า และการสร้าง ความเป็นพม่า ผ่านจิตรกรรมฝาผนังในล้านนา
description วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)
author ธัญญารัตน์ อภิวงค์
author_facet ธัญญารัตน์ อภิวงค์
author_sort ธัญญารัตน์ อภิวงค์
title กลุ่มชาติพันธุ์จากพม่า และการสร้าง ความเป็นพม่า ผ่านจิตรกรรมฝาผนังในล้านนา
title_short กลุ่มชาติพันธุ์จากพม่า และการสร้าง ความเป็นพม่า ผ่านจิตรกรรมฝาผนังในล้านนา
title_full กลุ่มชาติพันธุ์จากพม่า และการสร้าง ความเป็นพม่า ผ่านจิตรกรรมฝาผนังในล้านนา
title_fullStr กลุ่มชาติพันธุ์จากพม่า และการสร้าง ความเป็นพม่า ผ่านจิตรกรรมฝาผนังในล้านนา
title_full_unstemmed กลุ่มชาติพันธุ์จากพม่า และการสร้าง ความเป็นพม่า ผ่านจิตรกรรมฝาผนังในล้านนา
title_sort กลุ่มชาติพันธุ์จากพม่า และการสร้าง ความเป็นพม่า ผ่านจิตรกรรมฝาผนังในล้านนา
publisher คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77838/73359
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66342
_version_ 1681426436781506560