วิเคราะห์ตำนานมูลศาสนาฉบับวัดสวนดอก
วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่า...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/78090/73354 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66344 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-66344 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-663442019-08-21T09:18:26Z วิเคราะห์ตำนานมูลศาสนาฉบับวัดสวนดอก Analysis of Tamnan munlasatsana (Suan Dok Temple Version) ศิริศักดิ์ อภิศักดิ์มนตรี ธณิกานต์ วรธรรมานนท์ Tamnan Mulasasana Pa-Daeng Temple Suan Dok Temple ตำนานมูลศาสนา วัดป่าแดง วัดสวนดอก วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) ตำนานมูลศาสนาเป็นวรรณกรรมพุทธศาสนาล้านนาที่สำคัญ ฉบับที่ใช้วิเคราะห์เป็นฉบับวัดสวนดอก แต่งโดยพระพุทธรักขิต และพระพุทธญาณ แต่งขึ้นระหว่าง พ.ศ. 1999 - 2053 ตั้งแต่สมัยพญาติโลกราช (พ.ศ. 1985-2080) ถึงพระเมืองแก้ว (พ.ศ. 2038-2068) อันเป็นช่วงเวลาที่สังคมล้านนาเกิดเหตุการณ์ความขัดแย้งระหว่างพระสงฆ์ฝ่ายวัดสวนดอกกับพระสงฆ์ฝ่ายวัดป่าแดง ผู้แต่งมีความสัมพันธ์กับพระสงฆ์ฝ่ายวัดป่าแดง เนื้อหาตำนานประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนแรกเกี่ยวกับพุทธประวัติ ส่วนที่สองเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในล้านนา จุดประสงค์ของผู้แต่งตำนานเพื่อเชื่อมวงศ์กษัตริย์ล้านนาเข้ากับวงศ์พระพุทธเจ้า เพื่อสรรเสริญพญาติโลกราชทั้งทางโลกและทางธรรม ทั้งเพื่อรับรองสถานะผู้แต่งที่เกี่ยวข้องกับนิการวัดป่าแดงว่าสืบสายมาจากพระสุมนเถระ ซึ่งเป็นปฐมสังฆวงศ์ของนิกายวัดสวนดอก และเพื่อให้ข้อคิดเกี่ยวกับเหตุการณ์ตามพุทธพยากรณ์ที่จะมาถึงใน พ.ศ. 2000 วิธีการแต่งตำนานมูลศาสนา เป็นความเรียงร้อยแก้ว เขียนด้วยภาษาไทยถิ่นเหนือ ใช้อักษรธรรมล้านนา จารบนใบลาน มีความยาว 10 ผูก มักขึ้นต้นเนื้อหาด้วยคำเช่นเดียวกับนิทาน สำหรับในส่วนที่ผู้แต่งต้องการอธิบายเพิ่มเติมมักใช้คำว่า อธิบายว่า แทรกทัศนะของนักปราชญ์ร่วมสมัย ยกธรรมะ นิทานพื้นบ้าน ชาดก สรุปเหตุการณ์ในภาพรวมก่อนอธิบายรายละเอียด และสรุปเหตุการณ์ไว้ท้ายเรื่อง เนื้อหาที่น่าสนใจในตำนานมูลศาสนา ได้แก่ การประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุในเมืองเชียงใหม่ และการผูกสีมาของวัดสวนดอก จำนวน 6 ครั้งด้วยกัน ได้แก่ สมัยพระสุมนเถร เจ้าอาวาสวัดสวนดอกลำดับที่ 1 (พ.ศ. 1912-1936) มหานันทปัญญา เจ้าอาวาสวัดสวนดอกลำดับที่ 3 (พ.ศ.1946-1961) มหาพุทธญาณ เจ้าอาวาสวัดสวนดอกลำดับที่ 4 (พ.ศ.1961-1963) มหาติปิฎก เจ้าอาวาสวัดสวนดอกลำดับที่ 7 (พ.ศ.1984- 1990) พระพุทธรักขิต เจ้าอาวาสวัดสวนดอกลำดับที่ 8 (พ.ศ.1990 – 2002) และมหานาคเสน เจ้าอาวาสวัดสวนดอกลำดับที่ 10 (พ.ศ.2018 – 2023) 2019-08-21T09:18:26Z 2019-08-21T09:18:26Z 2560 วารสารวิจิตรศิลป์ 8, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2560), 106-164 1906-0572 https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/78090/73354 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66344 Tha คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
Tamnan Mulasasana Pa-Daeng Temple Suan Dok Temple ตำนานมูลศาสนา วัดป่าแดง วัดสวนดอก |
spellingShingle |
Tamnan Mulasasana Pa-Daeng Temple Suan Dok Temple ตำนานมูลศาสนา วัดป่าแดง วัดสวนดอก ศิริศักดิ์ อภิศักดิ์มนตรี ธณิกานต์ วรธรรมานนท์ วิเคราะห์ตำนานมูลศาสนาฉบับวัดสวนดอก |
description |
วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) |
author |
ศิริศักดิ์ อภิศักดิ์มนตรี ธณิกานต์ วรธรรมานนท์ |
author_facet |
ศิริศักดิ์ อภิศักดิ์มนตรี ธณิกานต์ วรธรรมานนท์ |
author_sort |
ศิริศักดิ์ อภิศักดิ์มนตรี |
title |
วิเคราะห์ตำนานมูลศาสนาฉบับวัดสวนดอก |
title_short |
วิเคราะห์ตำนานมูลศาสนาฉบับวัดสวนดอก |
title_full |
วิเคราะห์ตำนานมูลศาสนาฉบับวัดสวนดอก |
title_fullStr |
วิเคราะห์ตำนานมูลศาสนาฉบับวัดสวนดอก |
title_full_unstemmed |
วิเคราะห์ตำนานมูลศาสนาฉบับวัดสวนดอก |
title_sort |
วิเคราะห์ตำนานมูลศาสนาฉบับวัดสวนดอก |
publisher |
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2019 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/78090/73354 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66344 |
_version_ |
1681426437176819712 |