การบันทึกถ่ายภาพจิตรกรรมฝาผนังในล้านนาเพื่อการอนุรักษ์
วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่า...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/97816/96286 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66349 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-66349 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-663492019-08-21T09:18:26Z การบันทึกถ่ายภาพจิตรกรรมฝาผนังในล้านนาเพื่อการอนุรักษ์ Lanna Mural Painting Photography for Conservation กันต์ พูนพิพัฒน์ อนุรักษ์ เผยแพร่ จิตรกรรมฝาผนังล้านนาสู่สากล preserve distribute universalizing Lanna Mural painting วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) ในดินแดนตอนเหนือของประเทศไทยที่เรียกกันว่าล้านนานั้น ถือเป็น ดินแดนที่มีอายุมาอย่างยืนยาวมีความสวยงามของธรรมชาติและสภาพ แวดล้อมส่งผลถึงผู้คนที่อาศัยอยู่ในดินแดนนี้ได้เป็นอย่างดี อีกทั้ง ยังเป็น ดินแดนที่มีความเจริญรุ่งเรืองทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะพุทธศาสนา ซึ่งถือว่าเป็น ดินแดนหนึ่งที่พุทธศาสนามีความเจริญอย่างมาก สามารถก่อให้เกิดผลงาน หลากหลายด้าน โดยเกิดจากแรงศรัทธาที่มีต่อพุทธศาสนาที่สามารถเป็นที่ ประจักษ์จวบจนปัจจุบันนี้ โดยที่ปรากฏทั้งเป็นรูปธรรมและนามธรรม มีวัด เป็นศูนย์กลางของความศรัทธาที่ผู้คนในดินแดนล้านนาได้ให้ความสำคัญและ ทำนุบำรุง และได้สร้างสรรค์สิ่งที่สวยงามต่างๆ อย่างมากมายหลายหลากด้าน ที่ถือว่าเป็นการบูชาในความศรัทธาความเชื่อที่มีต่อพุทธศาสนาอย่างเหนียว แน่นมาแต่ช้านาน โดยเฉพาะวัดและสิ่งของที่อยู่ภายในนั้นเป็นถาวรวัตถุที่หลง เหลือมาจนปัจจุบันนี้ เป็นหลักฐานที่สามารถเห็นถึงความงดงามในสิ่งของต่างๆ ที่บรรจงสร้างสรรค์ขึ้นตามแรงศรัทธาเหล่านั้นได้เป็นอย่างดี และอีกสิ่งหนึ่ง ที่พบได้ภายในวัดที่มีความสวยงามและคงอยู่จนปัจจุบัน เป็นที่ตื่นตาตื่นใจทุก ครั้งแก่ผู้พบเห็น คือ จิตรกรรมฝาผนังที่วาดประดับอยู่ผนังภายในวิหาร ที่อุดม ไปด้วยเรื่องราวเกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาที่เป็นการสั่งสอนให้เป็นคนดีและมี จิตใจที่สูงขึ้น ซึ่งนอกจากนี้ ในจิตรกรรมฝาผนังยังมีการวาดภาพที่สอดแทรก เรื่องราวและสภาพแวดล้อมของท้องถิ่นนั้นลงไป ทำให้กลายเป็นหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ได้เป็นอย่างดี ที่ทำ าให้สามารถศึกษาและเรียนรู้เรื่องราวต่างๆ ได้ อย่างมากมาย จึงก่อให้เกิดแรงบันดาลใจแก่ข้าพเจ้าที่มีความเชี่ยวชาญในด้าน การถ่ายภาพ ในการใช้ภาพถ่ายให้เกิดประโยชน์อีกทางหนึ่ง คือนำไปใช้ในการ บันทึกภาพถ่ายจิตรกรรมฝาผนังเหล่านี้ โดยขอเป็นอีกทางที่จะช่วยอนุรักษ์ ให้คงอยู่สืบไป อีกทั้ง ยังต้องการให้เป็นแหล่งเรียนรู้แก่นักศึกษา เยาวชนรุ่น ใหม่และประชาชนทั่วไป ที่จะได้เห็นถึงศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของล้านนา อันเป็นต้นทุนที่สามารถนำไปต่อยอดในการสร้างสรรค์ผลงานอย่างหลากหลาย โดยมีเอกลักษณ์ของตนเอง 2019-08-21T09:18:26Z 2019-08-21T09:18:26Z 2561 วารสารวิจิตรศิลป์ 9, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 1-43 1906-0572 https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/97816/96286 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66349 Tha คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
อนุรักษ์ เผยแพร่ จิตรกรรมฝาผนังล้านนาสู่สากล preserve distribute universalizing Lanna Mural painting |
spellingShingle |
อนุรักษ์ เผยแพร่ จิตรกรรมฝาผนังล้านนาสู่สากล preserve distribute universalizing Lanna Mural painting กันต์ พูนพิพัฒน์ การบันทึกถ่ายภาพจิตรกรรมฝาผนังในล้านนาเพื่อการอนุรักษ์ |
description |
วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) |
author |
กันต์ พูนพิพัฒน์ |
author_facet |
กันต์ พูนพิพัฒน์ |
author_sort |
กันต์ พูนพิพัฒน์ |
title |
การบันทึกถ่ายภาพจิตรกรรมฝาผนังในล้านนาเพื่อการอนุรักษ์ |
title_short |
การบันทึกถ่ายภาพจิตรกรรมฝาผนังในล้านนาเพื่อการอนุรักษ์ |
title_full |
การบันทึกถ่ายภาพจิตรกรรมฝาผนังในล้านนาเพื่อการอนุรักษ์ |
title_fullStr |
การบันทึกถ่ายภาพจิตรกรรมฝาผนังในล้านนาเพื่อการอนุรักษ์ |
title_full_unstemmed |
การบันทึกถ่ายภาพจิตรกรรมฝาผนังในล้านนาเพื่อการอนุรักษ์ |
title_sort |
การบันทึกถ่ายภาพจิตรกรรมฝาผนังในล้านนาเพื่อการอนุรักษ์ |
publisher |
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2019 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/97816/96286 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66349 |
_version_ |
1681426438138363904 |