การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวกรณีศึกษาสถานีรถไฟลำพูน จังหวัดลำพูน

วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่า...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: วรินทร์ธร ไชยสิทธิ์, วรรักษ์ สุเฌอ
Language:Tha
Published: คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/97814/96302
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66354
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66354
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-663542019-08-21T09:18:26Z การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวกรณีศึกษาสถานีรถไฟลำพูน จังหวัดลำพูน The Cultural Landscape Management for Tourism : A Case Study of Train Station, Lamphun Province วรินทร์ธร ไชยสิทธิ์ วรรักษ์ สุเฌอ ภูมิทัศน์วัฒนธรรม การจัดการภูมิทัศน์ การท่องเที่ยว สถานีรถไฟลำพูน ลำพูน Cultural Landscape Landscape Management Tourism Lamphun train station Lamphun วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) แนวคิดเรื่อง ภูมิทัศน์วัฒนธรรม ถือเป็นเครื่องมือในการจัดการพื้นที่แหล่ง ท่องเที่ยว ที่ช่วยส่งเสริมให้แหล่งท่องเที่ยวมีภาพลักษณ์ที่ดี และยังคงความ เป็นเอกลักษณ์ดั้งเดิมของท้องถิ่น รวมถึงมีการกำหนดการใช้พื้นที่ที่ส่งผลกระ ทบเชิงบวกต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้อย่างเหมาะสม สถานีรถไฟลำพูนตั้งอยู่ใกล้เคียงกับเขตเมืองเก่าลำพูน มีความอุดมสมบูรณ์ ด้านทรัพยากรทางวัฒนธรรมในระดับสูง มีการทับซ้อนทางวัฒนธรรมที่สะท้อน ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ และธรรมชาติที่เหมาะแก่การเป็นแหล่ง ท่องเที่ยว ซึ่งการพัฒนาสถานีรถไฟลำพูนถือเป็นการส่งเสริมให้เกิดอุปสงค์ ทางการเดินทางท่องเที่ยวด้วยรถไฟ นอกจากนี้ ยังรองรับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ในการพัฒนาพื้นที่ข้างเคียงสถานีรถไฟและการขยายตัวของทางรถไฟความเร็ว สูงและทางรถไฟรางคู่ในอนาคต ซึ่งสอดคล้องกับกระทรวงคมนาคมที่ได้มี โครงการในการวางแผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและอสังหาริมทรัพย์โดยรอบ พื้นที่สถานีรถไฟด้วยเช่นกัน ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิและปฐมภูมิจากการลงสำรวจพื้นที่โดย รอบ สัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียง แล้วนำข้อมูล มาสังเคราะห์ผ่านการจัดทำผังความคิด (Mind Mapping) และการวิเคราะห์ SWOT โดยสรุปแนวคิดในการนำเสนอผ่านทุนทางวัฒนธรรมของพื้นที่เขต เมืองเก่าจังหวัดลำพูน ซึ่งแบ่งพื้นที่จัดสรรเพื่อการพัฒนาพื้นที่ดังต่อไปนี้ 1) การอนุรักษ์อาคารทรงมนิลาเดิม 2) การออกแบบอาคารใหม่ที่แสดงออกถึง ความทับซ้อนทางวัฒนธรรมผ่านรูปแบบสถาปัตยกรรม 3) การปรับปรุงพื้นที่ สวนป่ารกร้างบริเวณข้างเคียง การวิจัยนี้ถือเป็นแนวทางในการนำภูมิทัศน์ วัฒนธรรมไปต่อยอดในการส่งเสริมภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของพื้นที่ และ การอนุรักษ์ฟื้นฟูวัฒนธรรมท้องถิ่น และเพื่อก่อให้เกิดผลกระทบเชิงบวกด้าน อุปสงค์ทางการท่องเที่ยว และผลกระทบเชิงเศรษฐกิจ นอกจากนั้นแล้ว จาก การศึกษางานวิจัยครั้งนี้ ยังได้รับผลพลอยได้เป็นกระบวนการการออกแบบ ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยว ที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชน สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการออกแบบ ภูมิทัศน์วัฒนธรรมในพื้นที่อื่นๆ ได้อีกด้วย 2019-08-21T09:18:26Z 2019-08-21T09:18:26Z 2561 วารสารวิจิตรศิลป์ 9, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 258-300 1906-0572 https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/97814/96302 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66354 Tha คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ภูมิทัศน์วัฒนธรรม
การจัดการภูมิทัศน์
การท่องเที่ยว
สถานีรถไฟลำพูน
ลำพูน
Cultural Landscape
Landscape Management
Tourism
Lamphun train station
Lamphun
spellingShingle ภูมิทัศน์วัฒนธรรม
การจัดการภูมิทัศน์
การท่องเที่ยว
สถานีรถไฟลำพูน
ลำพูน
Cultural Landscape
Landscape Management
Tourism
Lamphun train station
Lamphun
วรินทร์ธร ไชยสิทธิ์
วรรักษ์ สุเฌอ
การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวกรณีศึกษาสถานีรถไฟลำพูน จังหวัดลำพูน
description วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)
author วรินทร์ธร ไชยสิทธิ์
วรรักษ์ สุเฌอ
author_facet วรินทร์ธร ไชยสิทธิ์
วรรักษ์ สุเฌอ
author_sort วรินทร์ธร ไชยสิทธิ์
title การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวกรณีศึกษาสถานีรถไฟลำพูน จังหวัดลำพูน
title_short การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวกรณีศึกษาสถานีรถไฟลำพูน จังหวัดลำพูน
title_full การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวกรณีศึกษาสถานีรถไฟลำพูน จังหวัดลำพูน
title_fullStr การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวกรณีศึกษาสถานีรถไฟลำพูน จังหวัดลำพูน
title_full_unstemmed การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวกรณีศึกษาสถานีรถไฟลำพูน จังหวัดลำพูน
title_sort การจัดการภูมิทัศน์วัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวกรณีศึกษาสถานีรถไฟลำพูน จังหวัดลำพูน
publisher คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/97814/96302
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66354
_version_ 1681426439077888000