การขยายประสบการณ์ภายในของตัวละครด้วยวิธีปฏิบัติภาวนาทางพระพุทธศาสนากรณีศึกษา ตัวละคร นาก จาก Land & Skin: The Ballad of Nak Phra Khanong

วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่า...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: Tanatchaporn Kittikong
Language:Tha
Published: คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/98026/96305
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66358
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66358
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-663582019-08-21T09:18:26Z การขยายประสบการณ์ภายในของตัวละครด้วยวิธีปฏิบัติภาวนาทางพระพุทธศาสนากรณีศึกษา ตัวละคร นาก จาก Land & Skin: The Ballad of Nak Phra Khanong Magnifying the character’s inner experience through Buddhist meditation-based approach: Case study from Land & Skin: The Ballad of Nak Phra Khanong Tanatchaporn Kittikong ปฏิบัติวิจัย วิธีปฏิบัติภาวนา นักแสดง สภาวะจิต พระพุทธศาสนา วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) ผู้วิจัยทำการศึกษาและสร้างสรรค์ตัวละครโดยใช้หลักปฏิบัติภาวนาทาง พระพุทธศาสนา (Meditation-based Approach) กรณีศึกษา ตัวละครนาก จากผลงานศิลปะการแสดง Land & Skin: The Ballad of Nak Phra Khanong โดยตั้งสมมุติฐานว่า การศึกษาลักษณะประสบการณ์ภายในของตัวละคร (Character’s Inner Experience) สามารถขยายและเข้าใจด้วยวิธีปฏิบัติภาวนาทางพระพุทธศาสนา ภายใต้กรอบแนวคิดด้านจิตและเบญจขันธ์ อันจะทำให้นักแสดงสามารถเข้าใจและสร้างสรรค์ประสบการณ์ของตัวละคร ในระดับที่ลึกขึ้น ส่งผลต่อการแสดงที่ละเอียดและเพิ่มเทคนิควีธีการและ ทิศทางสร้างสรรค์ใหม่ๆ ในการสร้างประสบการณ์เชิงปรากฏการณ์ของการ แสดงบนเวที การวิจัยสร้างสรรค์นี้เป็นวิจัยแบบปฏิบัติการ หรือ ปฏิบัติวิจัย (Practice as Research) บันทึกและสังเคราะห์องค์ความรู้ผ่านประสบการณ์ ตรงของผู้วิจัยในฐานะนักแสดงจากกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานซึ่งเป็นวิธี วิจัย เริ่มตั้งแต่การตีความและพัฒนาบทร่วมกับผู้ก ําากับ การค้นหาและการ สร้างสรรค์ตัวละคร การเลือกและกําาหนดวิธีการแสดงและการซ้อมการแสดง จนถึงการแสดงผลงาน วิเคราะห์และสะท้อนผลในขณะพัฒนาแนวคิดและวิธี วิจัยไปพร้อมๆ กับการปฏิบัติ แบ่งการอภิปรายผลออกเป็น 2 ส่วน คือ การ ตีความสภาวะจิตของตัวละครนากจากบท และผลงานสร้างสรรค์ของนักแสดง บนเวที ได้บทสรุปที่ว่า หลักปฏิบัติภาวนาทางพระพุทธศาสนา เมื่อใช้ในการ ทําางานเพื่อขยายประสบการณ์ภายในของตัวละคร มีความละเอียดและซับซ้อน เป็นเทคนิควิธีการที่ช่วยให้นักแสดงเพิ่มพูนทักษะการวิเคราะห์เปรียบเทียบ ประสบการณ์ของตัวละครในขั้นการทำงานของจิตที่ลึกซึ้งและเป็นที่มาของ อารมณ์และความรู้สึก นักแสดงสามารถสร้างและขยายประสบการณ์ของ ตัวละครให้สอดประสานกับสภาวะจิตนั้น ๆ ได้ ทำให้นักแสดงอยู่กับการแสดง บนเวทีได้อย่างมั่นคง มีพลัง และอยู่กับปัจจุบันขณะ 2019-08-21T09:18:26Z 2019-08-21T09:18:26Z 2561 วารสารวิจิตรศิลป์ 9, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 345-392 1906-0572 https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/98026/96305 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66358 Tha คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ปฏิบัติวิจัย
วิธีปฏิบัติภาวนา
นักแสดง
สภาวะจิต
พระพุทธศาสนา
spellingShingle ปฏิบัติวิจัย
วิธีปฏิบัติภาวนา
นักแสดง
สภาวะจิต
พระพุทธศาสนา
Tanatchaporn Kittikong
การขยายประสบการณ์ภายในของตัวละครด้วยวิธีปฏิบัติภาวนาทางพระพุทธศาสนากรณีศึกษา ตัวละคร นาก จาก Land & Skin: The Ballad of Nak Phra Khanong
description วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)
author Tanatchaporn Kittikong
author_facet Tanatchaporn Kittikong
author_sort Tanatchaporn Kittikong
title การขยายประสบการณ์ภายในของตัวละครด้วยวิธีปฏิบัติภาวนาทางพระพุทธศาสนากรณีศึกษา ตัวละคร นาก จาก Land & Skin: The Ballad of Nak Phra Khanong
title_short การขยายประสบการณ์ภายในของตัวละครด้วยวิธีปฏิบัติภาวนาทางพระพุทธศาสนากรณีศึกษา ตัวละคร นาก จาก Land & Skin: The Ballad of Nak Phra Khanong
title_full การขยายประสบการณ์ภายในของตัวละครด้วยวิธีปฏิบัติภาวนาทางพระพุทธศาสนากรณีศึกษา ตัวละคร นาก จาก Land & Skin: The Ballad of Nak Phra Khanong
title_fullStr การขยายประสบการณ์ภายในของตัวละครด้วยวิธีปฏิบัติภาวนาทางพระพุทธศาสนากรณีศึกษา ตัวละคร นาก จาก Land & Skin: The Ballad of Nak Phra Khanong
title_full_unstemmed การขยายประสบการณ์ภายในของตัวละครด้วยวิธีปฏิบัติภาวนาทางพระพุทธศาสนากรณีศึกษา ตัวละคร นาก จาก Land & Skin: The Ballad of Nak Phra Khanong
title_sort การขยายประสบการณ์ภายในของตัวละครด้วยวิธีปฏิบัติภาวนาทางพระพุทธศาสนากรณีศึกษา ตัวละคร นาก จาก land & skin: the ballad of nak phra khanong
publisher คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/98026/96305
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66358
_version_ 1681426439842299904