ศึกษาและพัฒนาสินค้าตกแต่งห้องทำงานจากอัตลักษณ์ไทยให้หน่วยงานภาครัฐด้วยเทคนิคยาถมดำไร้สารพิษ

วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่า...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อรัญ วานิชกร
Language:Tha
Published: คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/81538/96301
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66359
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66359
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-663592019-08-21T09:18:26Z ศึกษาและพัฒนาสินค้าตกแต่งห้องทำงานจากอัตลักษณ์ไทยให้หน่วยงานภาครัฐด้วยเทคนิคยาถมดำไร้สารพิษ Research and development decor items from Thai identify for government office with technology Lead free Nielloware อรัญ วานิชกร เกาะรัตนโกสินทร์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การตกแต่ง การท่องเที่ยว ยาถมดำไร้สารพิษ Rattanakosin Island Product Design Decorate, Travel Lead free Nielloware วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) การวิจัยเรื่อง ศึกษาและพัฒนาสินค้าตกแต่งห้องทำงานจากอัตลักษณ์ไทยให้ หน่วยงานภาครัฐเพื่อส่งเสริมแนวคิดการประยุกต์ใช้แท่งยาถมดำไร้สารพิษ เป็น การวิจัยในรูปแบบการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Research & Development) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทไทยจากแหล่งท่องเที่ยวรอบเกาะรัตนโกสินทร์ และนำเสนอแนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ระลึกสำหรับการประชาสัมพันธ์ แหล่งท่องเที่ยวที่มีประโยชน์ ใช้สอย สร้างภาพลักษณ์ตกแต่งห้องทำงาน หน่วยงานภาครัฐบาล ส่งเสริมแนวคิดการประยุกต์ใช้แท่งยาถมดำปลอดสารพิษ สิทธิบัตรของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยมีกระบวนการวิจัยจากขั้นตอน การศึกษาบริบทไทยด้านสถาปัตยกรรมด้วยวิธีสังเกตการณ์ด้วยเครื่องมือทาง ทัศนศิลป์ การสเกตซ์ภาพร่วมกับการถ่ายภาพ เพื่อซึมซับคุณค่าเรื่องราวความ สำคัญของบริเวณแหล่งท่องเที่ยวรอบเกาะรัตนโกสินทร์ จากนั้นคัดเลือกสิ่งที่ ประทับใจที่ได้พบเห็นจากแหล่งท่องเที่ยว ต่อยอดและบูรณาการผลิตภัณฑ์ ร่วมกับแนวคิดการประยุกต์ใช้แท่งยาถมดำปลอดสารพิษ ศึกษาบริบทเพิ่มเติม ภาคเอกสารและสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสร้างข้อกำหนด การออกแบบ จากนั้นสังเคราะห์ออกแบบตราสัญลักษณ์และออกแบบ ผลิตภัณฑ์ที่ระลึกจากแหล่งท่องเที่ยวรอบเกาะรัตนโกสินทร์ ผลการวิจัยได้อัตลักษณ์และพหุลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวในเชิงทัศนศิลป์ที่ เป็นรูปธรรม และนามธรรมเรื่องราวคุณค่าเบื้องหลังความสวยงามของแหล่ง ท่องเที่ยวสำคัญบริเวณรอบเกาะรัตนโกสินทร์ ได้ข้อกำหนดแบรนด์รับรอง ผลิตภัณฑ์จากแผนที่เกาะรัตนโกสินทร์ชั้นในและชั้นนอกร่วมกับตัวอักษรด้วย รูปแบบเส้นพู่กันจีน ซึ่งแทนยุครัตนโกสินทร์ตอนต้นที่ได้รับรูปแบบศิลปกรรม ผ่านการค้าขายกับประเทศจีน และแนวคิดผลิตภัณฑ์เพื่อการใช้สอยและตกแต่ง โต๊ะทำงาน โดยบูรณาการร่วมกับแนวคิดการประยุกต์ใช้ยาถมดำไร้สารพิษ ที่เป็นสิทธิบัตรของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้แก่ 1. ที่เสียบปากกาจากแนวคิดแผนที่บริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ 2. โคมไฟจาก แนวคิดพระเจดีย์แห่งวัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) ที่ได้สืบทอด ต้นแบบจากวัดพระศรีสรรเพชรแห่งกรุงศรีอยุธยา และลวดลายประกอบ จากลวดลายกระเบื้องเคลือบวัดอรุณราชวราราม (วัดแจ้ง) 3. กรอบรูปและ ที่วางนามบัตรจากแนวคิดอัตลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยววัดพระเชตุพนวิมล มังคลาราม (วัดโพธิ์) 4. ที่วางกระดาษโน๊ต ที่ทับกระดาษ และสามารถเสียบ ดินสอจากแนวคิดอัตลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวเจดีย์บนภูเขาทองจำลอง วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร และสุดท้ายที่เสียบดินสอเอนกประสงค์จาก แนวคิดอัตลักษณ์อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยซึ่งมีรูปแบบทันสมัยได้รับอิทธิพลจาก ตะวันตก ซึ่งแทนสัญลักษณ์ของประชาชน จากนั้นพัฒนาขั้นสุดท้ายเป็นชุด ผลิตภัณฑ์เครื่องใช้บนโต๊ะทำงานหน่วยงานภาครัฐ และเป็นของที่ระลึกเพื่อ ส่งเสริมภาพลักษณ์ประเทศไทย 2019-08-21T09:18:26Z 2019-08-21T09:18:26Z 2561 วารสารวิจิตรศิลป์ 9, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 160-194 1906-0572 https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/81538/96301 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66359 Tha คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic เกาะรัตนโกสินทร์
การออกแบบผลิตภัณฑ์
การตกแต่ง
การท่องเที่ยว
ยาถมดำไร้สารพิษ
Rattanakosin Island
Product Design
Decorate, Travel
Lead free Nielloware
spellingShingle เกาะรัตนโกสินทร์
การออกแบบผลิตภัณฑ์
การตกแต่ง
การท่องเที่ยว
ยาถมดำไร้สารพิษ
Rattanakosin Island
Product Design
Decorate, Travel
Lead free Nielloware
อรัญ วานิชกร
ศึกษาและพัฒนาสินค้าตกแต่งห้องทำงานจากอัตลักษณ์ไทยให้หน่วยงานภาครัฐด้วยเทคนิคยาถมดำไร้สารพิษ
description วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)
author อรัญ วานิชกร
author_facet อรัญ วานิชกร
author_sort อรัญ วานิชกร
title ศึกษาและพัฒนาสินค้าตกแต่งห้องทำงานจากอัตลักษณ์ไทยให้หน่วยงานภาครัฐด้วยเทคนิคยาถมดำไร้สารพิษ
title_short ศึกษาและพัฒนาสินค้าตกแต่งห้องทำงานจากอัตลักษณ์ไทยให้หน่วยงานภาครัฐด้วยเทคนิคยาถมดำไร้สารพิษ
title_full ศึกษาและพัฒนาสินค้าตกแต่งห้องทำงานจากอัตลักษณ์ไทยให้หน่วยงานภาครัฐด้วยเทคนิคยาถมดำไร้สารพิษ
title_fullStr ศึกษาและพัฒนาสินค้าตกแต่งห้องทำงานจากอัตลักษณ์ไทยให้หน่วยงานภาครัฐด้วยเทคนิคยาถมดำไร้สารพิษ
title_full_unstemmed ศึกษาและพัฒนาสินค้าตกแต่งห้องทำงานจากอัตลักษณ์ไทยให้หน่วยงานภาครัฐด้วยเทคนิคยาถมดำไร้สารพิษ
title_sort ศึกษาและพัฒนาสินค้าตกแต่งห้องทำงานจากอัตลักษณ์ไทยให้หน่วยงานภาครัฐด้วยเทคนิคยาถมดำไร้สารพิษ
publisher คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/81538/96301
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66359
_version_ 1681426440043626496