โรงมหรสพแห่งการจับจ้อง

วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่า...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: กรกฎ ใจรักษ์, รสลิน กาสต์
Language:Tha
Published: คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/100515/78161
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66363
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66363
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-663632019-08-21T09:18:26Z โรงมหรสพแห่งการจับจ้อง Theater of Surveillance. กรกฎ ใจรักษ์ รสลิน กาสต์ การจับจ้อง แอนิเมชั่น ศิลปะเชิงปฏิสัมพันธ์ ศิลปะอินสตอลเลชั่น Surveillance Animation Interactive art Installation art วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) ผลงานศิลปะ โรงมหรสพแห่งการจับจ้อง นำเสนอประเด็นเกี่ยวกับสังคม สมัยใหม่ที่ได้นำ การจับจ้อง มาเป็นเครื่องมือสำคัญในการควบคุมพฤติกรรม ของคนให้อยู่ในกฎระเบียบร่วมกัน ในสังคมปัจจุบันผู้คนส่วนใหญ่พึงพอใจที่จะ ดำเนินชีวิตตามระเบียบแบบแผนของสังคม เพื่อหลีกเลี่ยงการถูก พิพากษา ด้วยสายตา เงื่อนไขสำคัญของการที่จะมีชีวิตที่ปกติสุข คือ การประพฤติตน ให้เหมาะสมกับกาละและเทศะ เพราะความรู้สึกว่ากำลังถูก จับจ้องอยู่ ส่งผลต่อการกำหนดตัวตน การแสดงอากัปกิริยาท่าทางทุกรูปแบบที่แสดงออก ในพื้นที่สาธารณะล้วนแล้วแต่ไม่ได้เป็นไปอย่างอิสระเสรี ด้วยเหตุนี้ จึงต้องการ นำเสนอประเด็นดังกล่าวในรูปแบบผลงานศิลปกรรมซึ่งได้กำหนดวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานสื่อศิลปะแอนิเมชั่นที่นำเสนอสารสาระประเด็น การจับจ้อง โดยค้นหาการทำงานร่วมกันระหว่างผลงานแอนิเมชั่นกับผู้ชม และวิธีการนำเสนอที่ผู้ชมรับรู้ได้ถึงการถูกจับจ้องด้วยตนเอง สร้างความ ตระหนักถึงการถูกจำกัดเสรีภาพของการแสดงออกในพื้นที่ทางสังคม ผลงานสร้างสรรค์ครั้งนี้ได้กำหนดให้มี 2 ชุด คือ ชุดที่ 1 แอนิเมชั่นเรื่องสั้น นำ เสนอประเด็นการจับจ้อง ทำงานร่วมกันกับผลงานชุดที่ 2 เป็นศิลปะ อินสตอลเลชั่นเชิงปฏิสัมพันธ์ต่อผู้ชม (interactive installation art) กลวิธี ของศิลปะทั้ง 2 ชุด ปลุกเร้าให้ผู้ชมมีปฏิสัมพันธ์กับผลงานแอนิเมชั่น และ ภาพถ่ายของผู้ชม สร้างประสบการณ์ส่วนบุคคลของการได้จับจ้องและถูก จับจ้องในพื้นที่ เป็นการสร้างพื้นที่ของการจับจ้องให้ผู้ชมเกิดการพิจารณา ครุ่นคิดในประเด็นของการจับจ้อง ซึ่งทำให้ผู้ชมเข้าใจอำนาจ การจับจ้อง ในสังคมสมัยใหม่ได้อย่างชัดเจน ผลงานได้สื่อสารสะท้อนเนื้อหาตรงตาม แนวคิดและวัตถุประสงค์ ส่วนการประเมินผลการรับรู้และทัศนวิจารณ์จาก ผู้ชม ทำให้เกิดบทสนทนาระหว่างผู้เขียนและผู้ชม โต้ตอบทรรศนะทางความคิด เกิดมุมมองในการรับชมที่ให้อิสระ ในการรับรู้ถึงการถูกจับจ้องที่เปลี่ยนแปลง ไปตามกาลเทศะและเหตุปัจจัยส่วนตัวของผู้ชม การทำงานของมิติแสงสี ที่ฉายภาพขึ้นใหม่ตามแต่ลักษณะของผู้ชมนั้น ถือเป็นสุนทรียะใหม่ที่มี ชีวิตชีวาร่วมไปกับปฏิสัมพันธ์ของผู้ชม สามารถสะท้อนให้เห็นว่าผลงานได้ ทำให้เกิดการทบทวนหรือตั้งคำถามเกี่ยวกับ ตัวตน และ ความอิสรเสรี ในที่สาธารณะของผู้ชมได้อย่างดียิ่ง 2019-08-21T09:18:26Z 2019-08-21T09:18:26Z 2561 วารสารวิจิตรศิลป์ 9, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 145-189 1906-0572 https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/100515/78161 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66363 Tha คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic การจับจ้อง
แอนิเมชั่น
ศิลปะเชิงปฏิสัมพันธ์
ศิลปะอินสตอลเลชั่น
Surveillance
Animation
Interactive art
Installation art
spellingShingle การจับจ้อง
แอนิเมชั่น
ศิลปะเชิงปฏิสัมพันธ์
ศิลปะอินสตอลเลชั่น
Surveillance
Animation
Interactive art
Installation art
กรกฎ ใจรักษ์
รสลิน กาสต์
โรงมหรสพแห่งการจับจ้อง
description วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)
author กรกฎ ใจรักษ์
รสลิน กาสต์
author_facet กรกฎ ใจรักษ์
รสลิน กาสต์
author_sort กรกฎ ใจรักษ์
title โรงมหรสพแห่งการจับจ้อง
title_short โรงมหรสพแห่งการจับจ้อง
title_full โรงมหรสพแห่งการจับจ้อง
title_fullStr โรงมหรสพแห่งการจับจ้อง
title_full_unstemmed โรงมหรสพแห่งการจับจ้อง
title_sort โรงมหรสพแห่งการจับจ้อง
publisher คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/100515/78161
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66363
_version_ 1681426440773435392