แบบจำลอง EPANET ระบบโครงข่ายท่อประปา การประปาส่วนภูมิภาคสาขาพิจิตร

วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สิปปนนท์ กิ่งก้ำ, อดิชัย พรพรหมินทร์, สุรชัย ลิปิวัฒนาการ
Language:Tha
Published: คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Online Access:http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_1/08.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66405
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66405
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-664052019-08-21T09:18:27Z แบบจำลอง EPANET ระบบโครงข่ายท่อประปา การประปาส่วนภูมิภาคสาขาพิจิตร Water Distribution Network Model of EPANET, Provincial Waterworks Authority, Phichit Branch Office สิปปนนท์ กิ่งก้ำ อดิชัย พรพรหมินทร์ สุรชัย ลิปิวัฒนาการ วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี การประปาส่วนภูมิภาคสาขาพิจิตร (แม่ข่าย) เป็นอีกสาขาหนึ่งที่ประสบกับปัญหาแรงดันนํ้าที่ให้บริการตํ่ากว่า เกณฑ์ที่กําหนด กล่าวคือมีแรงดันนํ้าตํ่าในช่วงเวลาที่มีความต้องการใช้นํ้าสูงสุด (On Peak : 07.00 น.) ตํ่ากว่า 7 เมตร แต่กลับมีแรงดันนํ้าสูงเกินในช่วงเวลาที่มีความต้องการใช้นํ้าตํ่าสุด (Off Peak : 03.00 น.) จึงเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทําให้เกิด นํ้าสูญเสียสูงตามมา เนื่องจากแรงดันนํ้าจ่ายจากต้นทางในปัจจุบันไม่สอดคล้องกับรูปแบบความต้องการใช้นํ้าของผู้ใช้นํ้า และขนาดของเส้นท่อในบางพื้นที่มีขนาดเล็กไม่เหมาะสม ดังนั้นการบริหารจัดการแรงดันนํ้าในพื้นที่จึงเป็นวิธีการหนึ่งที่ สามารถช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวการศึกษานี้ได้เลือกใช้แบบจําลองทางคณิตศาสตร์EPANET 2.0 เพื่อจําลองโครงข่ายระบบท่อประปา เนื่องจากพื้นที่ศึกษามีจํานวนผู้ใช้นํ้ามากและมีโครงข่ายท่อประปาขนาดใหญ่ ทําให้การวิเคราะห์ด้วยประสบการณ์อาจไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ทั้งหมด มีขั้นตอนการศึกษาโดยทําการรวมรวมข้อมูลแรงดันนํ้าจากภาคสนาม ทั้งหมด 11 จุด และปริมาณนํ้าจ่ายทั้งหมด 12 จุด ซึ่งผลการสอบเทียบที่ได้จากแบบจําลองเปรียบเทียบกับข้อมูลจาก ภาคสนามนั้นมีค่าความแตกต่างของแรงดันนํ้าเฉลี่ย 0.16 เมตร คิดเป็นค่าความคลาดเคลื่อน 1.19 เปอร์เซ็นต์การศึกษามีวัตถุประสงค์ให้ทั้งพื้นที่ศึกษาได้รับแรงดันนํ้าไม่น้อยกว่า 7 เมตร ทุกช่วงเวลา และในขณะเดียวกันก็สามารถลดแรงดัน ส่วนเกินในช่วงเวลาที่มีความต้องการใช้นํ้าตํ่า ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าสามารถลดแรงดันนํ้าเฉลี่ยต้นทางจากเดิม 16.80 เมตร เหลือ 13.79 เมตร และส่งผลให้ปริมาณนํ้าจ่ายเฉลี่ยต้นทางจากเดิม 552.88 ลูกบาศก์เมตรต่อชัวโมง เหลือ 505.71 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ลดลง 47.17 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง หรือคิดเป็น 5.59 % โดยที่แรงดันนํ้าทั่วพื้นที่ศึกษายังคงไม่น้อยกว่า 7 เมตร ทุกช่วงเวลา และจากการศึกษาความเชื่อถือได้ทางชลศาสตร์(Reliability) ของระบบโครงข่ายท่อ พบว่าเมื่อนําเอาทฤษฎีค่าดัชนีความยืดหยุ่น (Resilience Index, Ir ) มาประยุกต์ใช้ในการตรวจสอบระบบโครงข่ายท่อนั้น ค่า Ir ซึ่งควรมีค่าอยู่ระหว่าง 0-1 แต่ในการศึกษานี้กลับได้ค่าติดลบในบางช่วงเวลาเนื่องจากปัจจุบันในพื้นที่เฝ้าระวัง (DMA) บางพื้นที่ผู้ใช้นํ้าได้รับแรงดันนํ้าตํ่ากว่าค่าที่ยอมรับได้จํานวนมากยิ่งไปกว่านั้นใน DMAs 04 และ 06 ที่อยู่ไกลที่สุดพบว่า ค่า Ir ในบางช่วงเวลามีค่ามากกว่า 1 ซึ่งแสดงว่ากําลังนํ้าทั้งหมดที่จุดนํ้าเข้า DMA นั้นไม่เพียงพออย่างรุนแรง ดังนั้นในการศึกษานี้จึงทําการเลือกใช้วิธีค่าการปฏิบัติตามมาตรฐานของแรงดันขั้นตํ่า (I5) ซึ่งได้ผลจากการวิจัยพบว่าค่า I5 ตํ่าสุดที่ผู้ใช้นํ้าได้รับในกรณีหลังทําการศึกษามีค่าสูงกว่าในกรณีก่อนทําการศึกษา โดยที่ในกรณีก่อนทําการศึกษามีค่า I5 ตํ่ากว่า 1 และในกรณีหลังทําการศึกษานั้นให้ค่าสูงกว่า 1 ทุก DMA ตลอดทุกช่วงเวลา ดังนั้นจึงสรุปได้ว่ากําลังที่ผู้ใช้นํ้าได้รับ นั้นมีค่าสูงกว่ากําลังที่ผู้ใช้นํ้าควรจะได้รับ (Pext>Pmin, ext ) ซึ่งสื่อถึงปริมาณและแรงดันนํ้าที่ผู้ใช้นํ้าได้รับจากระบบโครงข่ายท่อนั้นมีความเพียงพอต่อความต้องการใช้นํ้า 2019-08-21T09:18:27Z 2019-08-21T09:18:27Z 2562 วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 26, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 93-106 2672-9695 http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_1/08.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66405 Tha คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
description วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี
author สิปปนนท์ กิ่งก้ำ
อดิชัย พรพรหมินทร์
สุรชัย ลิปิวัฒนาการ
spellingShingle สิปปนนท์ กิ่งก้ำ
อดิชัย พรพรหมินทร์
สุรชัย ลิปิวัฒนาการ
แบบจำลอง EPANET ระบบโครงข่ายท่อประปา การประปาส่วนภูมิภาคสาขาพิจิตร
author_facet สิปปนนท์ กิ่งก้ำ
อดิชัย พรพรหมินทร์
สุรชัย ลิปิวัฒนาการ
author_sort สิปปนนท์ กิ่งก้ำ
title แบบจำลอง EPANET ระบบโครงข่ายท่อประปา การประปาส่วนภูมิภาคสาขาพิจิตร
title_short แบบจำลอง EPANET ระบบโครงข่ายท่อประปา การประปาส่วนภูมิภาคสาขาพิจิตร
title_full แบบจำลอง EPANET ระบบโครงข่ายท่อประปา การประปาส่วนภูมิภาคสาขาพิจิตร
title_fullStr แบบจำลอง EPANET ระบบโครงข่ายท่อประปา การประปาส่วนภูมิภาคสาขาพิจิตร
title_full_unstemmed แบบจำลอง EPANET ระบบโครงข่ายท่อประปา การประปาส่วนภูมิภาคสาขาพิจิตร
title_sort แบบจำลอง epanet ระบบโครงข่ายท่อประปา การประปาส่วนภูมิภาคสาขาพิจิตร
publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_1/08.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66405
_version_ 1681426448520314880