แนวทางการวิเคราะห์การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ของสายงานผลิตไฟฟ้า

วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: พีรวัจน์ ชัยมณีรัตน์, จิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์
Language:Tha
Published: คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_3/19.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66432
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66432
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-664322019-08-21T09:18:28Z แนวทางการวิเคราะห์การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ของสายงานผลิตไฟฟ้า Economic Value Added Analysis For Electricity Generation Field พีรวัจน์ ชัยมณีรัตน์ จิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์ การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ กำไรเชิงเศรษฐศาสตร์ อัตราต้น ทุนเงินทุนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ส่วนต่างค่าเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ส่วนเกินจำนวนชั่วโมงพร้อมจ่ายตามสัญญา วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี งานวิจัยนี้เป็นการประยุกต์ใช้แนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์กับสายงานผลิตไฟฟ้าซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้วัดผลการดำเนินงานทางด้านการเงิน และระบบการบริหารจัดการองค์กรโดยมีตัวชี้วดคือค่ากำไรเชิงเศรษฐศาสตร์โดยเปรียบเทียบระหว่างกำไรหลังจากหักภาษีกับต้นทุนเงินทุน โดยมีสมมติฐานการจัดเก็บรายได้จากสัญญาการซื้อขายไฟฟ้า ภายใน ที่ประกอบค่าความพร้อมจ่ายและรายได้จากค่าเชื้อเพลิงใช้วิธีการวิเคราะห์ความไวในการกำหนดเป้าหมายของแผนการเพิ่มมูลค่าเชิงเศรษฐศาสตร์ซึ่งได้แก่แผนเพิ่มส่วนต่างค่าเชื้อเพลิง, แผนเพิ่มค่าความพร้อมจ่าย และแผนลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการที่ควบคุมได้ใช้วิธีการคำนวณอัตราต้นทุนเงินทุนเฉลี่ยถ่วงนหนักของสายผลิตไฟฟ้าเท่ากับ 6.43% และกำหนดภาษีเชิงเศรษฐศาสตร์20% และวิเคราะห์กำไรเชิงเศรษฐศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่างของโรงไฟฟ้าในสายงาน 5 โรงไฟฟ้าซึ่งได้แก่โรงไฟฟ้า A และ D ประเภทพลังงานความร้อนร่วม โรงไฟฟ้าถ่านหิน B, โรงไฟฟ้าพลังน้ำ C และโรงไฟฟ้า E พลังงานความร้อนที่ใช้น้ำมันเตาและน้ำมันปาลม์ เป็นเชื้อเพลิง โดยในปีพ.ศ.2558 ในภาพรวมสายงานปีสูงกว่าค่าประมาณการ 3,617 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากแผนกลยทุธ์ทั้ง 3 แผนจำนวน 753 ล้านบาท และเมื่อเปรียบเทียบค่าจริงกำไรเชิงเศรษฐศาสตร์ พ.ศ.2558 กับ ปี2559 พบว่าภาพรวมสายงานผลิตไฟฟ้ามีค่าลดลง 512 ล้านบาท และโรงไฟฟ้า A ลดลง 64 ล้านบาท, โรงไฟฟ้า B เพิ่มขึ้น 1,312 ล้านบาท, โรงไฟฟ้า C ลดลง 57 ล้านบาท, โรงไฟฟ้า D เพิ่มขึ้น 91 ล้านบาท, โรงไฟฟ้า E ลดลง 161 ล้านบาท โดยโรงไฟฟ้า A,B,D ควรเน้นแผนกลยุทธ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ด้านเพิ่มส่วนต่างค่าเชื้อเพลิงและเพิ่มค่าความพร้อมจ่าย โรงไฟฟ้า C ควรเน้นเพิ่มส่วนเกินชั่วโมงความพร้อมจ่ายและโรงไฟฟ้า C ควรเน้นด้านลดค่าใชจ่ายที่ควบคุมได้พร้อมทั้งขยายผลการศึกษากำไรเศรษฐศาสตร์ไปสู่โรงไฟฟ้าอื่น ๆ ในสังกัด 2019-08-21T09:18:28Z 2019-08-21T09:18:28Z 2561 วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2561), 222-232 2672-9695 http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_3/19.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66432 Tha คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์
กำไรเชิงเศรษฐศาสตร์
อัตราต้น ทุนเงินทุนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก
ส่วนต่างค่าเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า
ส่วนเกินจำนวนชั่วโมงพร้อมจ่ายตามสัญญา
spellingShingle การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์
กำไรเชิงเศรษฐศาสตร์
อัตราต้น ทุนเงินทุนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก
ส่วนต่างค่าเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า
ส่วนเกินจำนวนชั่วโมงพร้อมจ่ายตามสัญญา
พีรวัจน์ ชัยมณีรัตน์
จิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์
แนวทางการวิเคราะห์การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ของสายงานผลิตไฟฟ้า
description วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี
author พีรวัจน์ ชัยมณีรัตน์
จิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์
author_facet พีรวัจน์ ชัยมณีรัตน์
จิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์
author_sort พีรวัจน์ ชัยมณีรัตน์
title แนวทางการวิเคราะห์การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ของสายงานผลิตไฟฟ้า
title_short แนวทางการวิเคราะห์การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ของสายงานผลิตไฟฟ้า
title_full แนวทางการวิเคราะห์การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ของสายงานผลิตไฟฟ้า
title_fullStr แนวทางการวิเคราะห์การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ของสายงานผลิตไฟฟ้า
title_full_unstemmed แนวทางการวิเคราะห์การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ของสายงานผลิตไฟฟ้า
title_sort แนวทางการวิเคราะห์การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ของสายงานผลิตไฟฟ้า
publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_3/19.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66432
_version_ 1681426453547188224