การหาค่าพารามิเตอร์ที่ดีที่สุดในการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ โดยวิธีการทากุชิที่การหลอมละลายแนวเชื่อม
วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใ...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_1/03Surapong.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66434 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-66434 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-664342019-08-21T09:18:28Z การหาค่าพารามิเตอร์ที่ดีที่สุดในการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ โดยวิธีการทากุชิที่การหลอมละลายแนวเชื่อม Parametric Optimization of Shield Metal – Arc Welding Process by Taguchi Method on Weld Dilution สุรพงศ์ บางพาน พีรพันธ์ บางพาน เจษฎา แก้วสุใจ พงค์นรินทร์ กิ่งอุโมงค์ วิธีการทากุชิ การจัดวางลำดับแนวฉาก Orthogonal Array การเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ การหลอมละลาย วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี การเชื่อมด้วยลวดเชื่อมที่มีสารพอกหุ้ม (Shielded Metal Arc Welding (SMAW)) เป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายของกระบวนเชื่อมในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็กเพราะว่าการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมที่มีสารพอกหุ้ม (Shielded Metal Arc Welding (SMAW)) นั้นจะมีต้นทุนที่ต่ำในส่วนของการกำหนดค่าพารามิเตอร์ของการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมที่มีสารพอกหุ้ม (Shielded Metal Arc Welding (SMAW)) เป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างมากซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพ การเพิ่มผลผลิตและต้นทุนในการเชื่อมดังนั้นวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อเป็นการพัฒนาค่าพารามิเตอร์สำหรับการเชื่อม ด้วยลวดเชื่อมที่มีสารพอกหุ้ม (Shielded Metal Arc Welding (SMAW)) ตลอดจนได้ทำการวางแผนการเพื่อเตรียมงานอย่างต่อเนื่องและตรวจดูการหลอมละลายแนวเชื่อมจากการทดสอบรอยเชื่อมต่อการซึมลึกในเหล็กรางที่มีขนาดความ กว้าง 4x4 นิ้ ว 2 และความหนา 4 มิลลิเมตรในระหว่างกระบวนการทดสอบนั้นได้ทำการเลือกค่าพารามิเตอร์ของการเชื่อมซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญ ประกอบด้วยกระแสไฟฟ้า มุมของการเชื่อมและฐานช่องวางระหว่างชิ้นงานกับลวดเชื่อมของตำแหน่งที่ทำการเชื่อม ตามที่ได้ทำการคัดเลือกตัวแปรของค่าพารามิเตอร์ซึ่งมีจำนวนอย่างเพียงพอต่อการทดลองเพราะว่าได้ดำเนินการ ทดลองด้วยวิธีการทากุชิเพื่อหาค่าที่ดีที่สุด สำหรับแต่ละลำดับของปัจจยัที่ดีที่สุดจะกำหนดเป็นค่าคงที่นอกจากนี้แล้วลำดับ ของการทดลองจะถูกแยกเป็น 3 ระดับ ดังนั้นการทดลองนี้จะมี3 ปัจจัยกับ 3 ระดับ ในงานวิจัยนี้ได้เลือกแบบการจัดวาง ลำดับแบบแนวฉาก (Orthogonal Array, OA) ชนิด L9 ทำการทดลองจะดำเนินการด้วยการจัดวางลำดับแบบแนวฉาก (Orthogonal Array, OA) ผลลัพธ์ที่ได้จากการทดลองประกอบด้วยการปรับกระแสไฟฟ้าอยู่ที่90 แอมแปร์มุมของการเชื่อมเท่ากับ 10 องศาและฐานช่องว่างระหว่างชิ้นงานเท่ากับ 3 มิลลิเมตร ซึ่งเป็นค่าปัจจัยที่สำคัญต่อการเชื่อมด้วยลวดเชื่อม ที่มีสารพอกหุ้ม ในการหลอมละลายของการซึมลึกแนวเชื่อมอยู่ในระดับที่ดีที่สุด 2019-08-21T09:18:28Z 2019-08-21T09:18:28Z 2561 วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2561), 34-42 2672-9695 http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_1/03Surapong.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66434 Tha คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
วิธีการทากุชิ การจัดวางลำดับแนวฉาก Orthogonal Array การเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ การหลอมละลาย |
spellingShingle |
วิธีการทากุชิ การจัดวางลำดับแนวฉาก Orthogonal Array การเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ การหลอมละลาย สุรพงศ์ บางพาน พีรพันธ์ บางพาน เจษฎา แก้วสุใจ พงค์นรินทร์ กิ่งอุโมงค์ การหาค่าพารามิเตอร์ที่ดีที่สุดในการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ โดยวิธีการทากุชิที่การหลอมละลายแนวเชื่อม |
description |
วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี |
author |
สุรพงศ์ บางพาน พีรพันธ์ บางพาน เจษฎา แก้วสุใจ พงค์นรินทร์ กิ่งอุโมงค์ |
author_facet |
สุรพงศ์ บางพาน พีรพันธ์ บางพาน เจษฎา แก้วสุใจ พงค์นรินทร์ กิ่งอุโมงค์ |
author_sort |
สุรพงศ์ บางพาน |
title |
การหาค่าพารามิเตอร์ที่ดีที่สุดในการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ โดยวิธีการทากุชิที่การหลอมละลายแนวเชื่อม |
title_short |
การหาค่าพารามิเตอร์ที่ดีที่สุดในการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ โดยวิธีการทากุชิที่การหลอมละลายแนวเชื่อม |
title_full |
การหาค่าพารามิเตอร์ที่ดีที่สุดในการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ โดยวิธีการทากุชิที่การหลอมละลายแนวเชื่อม |
title_fullStr |
การหาค่าพารามิเตอร์ที่ดีที่สุดในการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ โดยวิธีการทากุชิที่การหลอมละลายแนวเชื่อม |
title_full_unstemmed |
การหาค่าพารามิเตอร์ที่ดีที่สุดในการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ โดยวิธีการทากุชิที่การหลอมละลายแนวเชื่อม |
title_sort |
การหาค่าพารามิเตอร์ที่ดีที่สุดในการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ โดยวิธีการทากุชิที่การหลอมละลายแนวเชื่อม |
publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2019 |
url |
http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_1/03Surapong.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66434 |
_version_ |
1681426453916286976 |