การลดสัดส่วนของเสียจากข้อบกพร่องผิวไม่เรียบของชิ้นงานหล่อ

วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: พิชญ์พันธ์ อุ่นชื่น, นภัสสวงศ์ โอสถศิลป์
Language:Tha
Published: คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_1/08Phichaphan.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66445
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66445
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-664452019-08-21T09:18:28Z การลดสัดส่วนของเสียจากข้อบกพร่องผิวไม่เรียบของชิ้นงานหล่อ Reduction of Defective Rate from Rough Surface Defects of Casted Product พิชญ์พันธ์ อุ่นชื่น นภัสสวงศ์ โอสถศิลป์ ผิวไม่เรียบ เหล็กหล่อ ซิกซ์ ซิกมา Multi-Vari Chart การทดสอบสมมติฐานทางสติถิ การออกแบบการทดลอง วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิตฝาครอบเครื่องยนต์ (Case Mind) ใช้กับรถแทรกเตอร์ เพื่อลดของเสียจากข้อบกพร่องประเภทผิวไม่เรียบด้านในชิ้นงานเหล็กหล่อ งานวิจัยนี้ประยุกต์ใช้เครื่องมือการปรับปรุงคุณภาพตามแนวทางซิกซ์ ซิกมา โดยแบ่งเป็น 5 ระยะ ได้แก่ (1) การนิยามปัญหา โดยเลือกปัญหาและอธิบายสภาพปัญหาที่จะปรับปรุง (2) การวัด โดยการวิเคราะห์ระบบการวัดแบบหน่วยนับเพื่อประเมินความแม่นและความเที่ยงของกระบวนการวัด (3) การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา โดยการระดมสมองเพื่อหาปัจจัยนำเข้าและพิสูจน์ความมีนัยสำคัญทางสถิติของปัจจัยนำเข้า (4) การปรับปรุง โดยการออกแบบการทดลองเพื่อหาระดับที่เหมาะสมของปัจจัยนำเข้าที่มีนัยสำคัญ (5) การควบคุมกระบวนการ โดยการทดสอบเพื่อยืนยันผลหลังการปรับปรุง และกำหนดแผนควบคุมใหม่ โดยหลังการปรับปรุงพบว่า สัดส่วนของเสียจากข้อบกพร่องประเภทผิวไม่เรียบด้านในชิ้นงานลดจาก 86.83% เป็น 46% ซึ่งสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการตกแต่งผิวได้ 139,922 บาทต่อไป 2019-08-21T09:18:28Z 2019-08-21T09:18:28Z 2561 วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2561), 95-108 2672-9695 http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_1/08Phichaphan.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66445 Tha คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ผิวไม่เรียบ
เหล็กหล่อ
ซิกซ์ ซิกมา
Multi-Vari Chart
การทดสอบสมมติฐานทางสติถิ
การออกแบบการทดลอง
spellingShingle ผิวไม่เรียบ
เหล็กหล่อ
ซิกซ์ ซิกมา
Multi-Vari Chart
การทดสอบสมมติฐานทางสติถิ
การออกแบบการทดลอง
พิชญ์พันธ์ อุ่นชื่น
นภัสสวงศ์ โอสถศิลป์
การลดสัดส่วนของเสียจากข้อบกพร่องผิวไม่เรียบของชิ้นงานหล่อ
description วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี
author พิชญ์พันธ์ อุ่นชื่น
นภัสสวงศ์ โอสถศิลป์
author_facet พิชญ์พันธ์ อุ่นชื่น
นภัสสวงศ์ โอสถศิลป์
author_sort พิชญ์พันธ์ อุ่นชื่น
title การลดสัดส่วนของเสียจากข้อบกพร่องผิวไม่เรียบของชิ้นงานหล่อ
title_short การลดสัดส่วนของเสียจากข้อบกพร่องผิวไม่เรียบของชิ้นงานหล่อ
title_full การลดสัดส่วนของเสียจากข้อบกพร่องผิวไม่เรียบของชิ้นงานหล่อ
title_fullStr การลดสัดส่วนของเสียจากข้อบกพร่องผิวไม่เรียบของชิ้นงานหล่อ
title_full_unstemmed การลดสัดส่วนของเสียจากข้อบกพร่องผิวไม่เรียบของชิ้นงานหล่อ
title_sort การลดสัดส่วนของเสียจากข้อบกพร่องผิวไม่เรียบของชิ้นงานหล่อ
publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_1/08Phichaphan.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66445
_version_ 1681426455959961600