ผู้ผลิตรายย่อย บทวิเคราะห์เชิงสังคมวิทยา กรณีศึกษาผู้ผลิตน้ำอ้อยก้อนพื้นบ้านจังหวัดกาฬสินธุ์

วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปี พ.ศ.2513 มีบรรณาธิการและกองบรรณาธิการ ที่ทำงานร่วมกันทั้งที่มาจากคณาจารย์ในคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และอาจารย์นักวิชาการภายนอก จากมหาวิทยาลัยชั้นนำทางด้านสังคมศาสตร์ของประเทศไทย วารสารสังคมศาสตร์ จัดทำขึ้นโดย...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: กนกวรรณ มะโนรมย์, จุฑาทิพย์ วิเศษศิลป์
Language:Tha
Published: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/163994/118809
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66528
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66528
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-665282019-08-21T09:18:29Z ผู้ผลิตรายย่อย บทวิเคราะห์เชิงสังคมวิทยา กรณีศึกษาผู้ผลิตน้ำอ้อยก้อนพื้นบ้านจังหวัดกาฬสินธุ์ Smallholders Sociological Analysis: A Case study of sugarcane farmers in Kalasin Province กนกวรรณ มะโนรมย์ จุฑาทิพย์ วิเศษศิลป์ ผู้ผลิตรายย่อย น้ำอ้อยก้อนพื้นบ้าน วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปี พ.ศ.2513 มีบรรณาธิการและกองบรรณาธิการ ที่ทำงานร่วมกันทั้งที่มาจากคณาจารย์ในคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และอาจารย์นักวิชาการภายนอก จากมหาวิทยาลัยชั้นนำทางด้านสังคมศาสตร์ของประเทศไทย วารสารสังคมศาสตร์ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญคือเพื่อเผยแพร่บทความวิชาการ หรืองานวิจัยทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะทางด้านมานุษยวิทยา การศึกษาการพัฒนาทางด้านภูมิศาสตร์ สังคมวิทยา และสตรีศึกษา ที่มีคุณภาพสู่สังคมวงกว้าง ต่อมาในปี 2561 วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เริ่มจัดทำวารสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) บทความนี้อภิปราย ผู้ผลิตรายย่อย (Smallholders) ในมิติสังคมวิทยาโดยใช้ข้อมูลการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพจากผู้ผลิตน้ำอ้อยก้อนพื้นบ้านทุกครัวเรือนในพื้นที่ศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ ประเด็นนำเสนอสำคัญประการแรกคือ ข้อถกเถียงว่าขนาดของที่ดินไม่ใช่ข้อกำหนดการเป็นผู้ผลิตรายย่อย เนื่องจากผู้ผลิตรายย่อยมีกิจกรรมการผลิตที่หลากหลายในที่ดินของครัวเรือนที่มีมากกว่าที่ดิน 2 เฮกตาร์ (12 ไร่ 2 งาน) ซึ่งมิได้เป็นไปตามคำนิยามของธนาคารโลกที่กำหนดว่าผู้ผลิตรายย่อยคือกลุ่ม คนที่ใช้ที่ดินต่ำกว่า 2 เฮกตาร์ ในการผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร การใช้ขนาด การใช้ที่ดินในการกำหนดการเป็นผู้ผลิตรายย่อยไม่สอดคล้องกับบริบทสังคมภาคเกษตรปัจจุบันที่ได้ก้าวสู่เศรษฐกิจแบบตลาดอย่างเต็มตัว และเงื่อนไขและระดับการพัฒนาที่แตกต่างกันในแต่ละสังคม ดังที่ผู้ผลิตน้ำอ้อยก้อนใช้ที่ดินของตัวเองมากกว่า12 ไร่ในการผลิตที่หลากหลายรวมทั้งการผลิตน้ำอ้อยก้อน ประการที่สอง ผู้ผลิตน้ำอ้อยก้อนมีลักษณะเป็นผู้ผลิตรายย่อยผู้มีความรู้ ทักษะ ความประณีตและเป็นแรงงานฝีมือ ซึ่งสะท้อนนิยามความหมายของผู้ผลิตรายย่อยของ Peluso (2017) ที่กล่าวว่า กิจกรรมการผลิตของผู้ผลิตรายย่อยสามารถครอบคลุมถึงการผลิตอื่นที่มิใช่การเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ หากรวมถึงงานฝีมือและหัตถกรรมพื้นถิ่นอีกด้วย ประการที่สาม ผู้ผลิตน้ำอ้อยก้อนมิได้ผลิตเพื่อการยังชีพแต่เน้นผลิต เพื่อตลาดเป็นหลัก เน้นการใช้แรงงานของครัวเรือนอย่างเข้มข้น จะจ้างแรงงาน เพิ่มขึ้นก็ต่อเมื่อต้องการผลิตป้อนตลาดจำนวนมากและมีตลาดไม่จำกัด ประการสุดท้าย ผู้ผลิตน้ำอ้อยก้อนยังมีลักษณะบางอย่างเหมือนผู้ประกอบการ นั่นคือมีความสามารถในจัดการทุน การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย และกำหนดราคาขายน้ำอ้อยก้อนด้วยตัวเอง อีกทั้งยังทำหน้าที่ของการเป็นหน่วยการบริโภค และยังคงผูกพันใกล้ชิดระหว่างสมาชิกครัวเรือนและชุมชนในมิติสังคมและวัฒนธรรมอีกด้วย 2019-08-21T09:18:29Z 2019-08-21T09:18:29Z 2561 วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 30, 1 (ม.ค.-มิ.ย 2561), 65-100 2672-9563 https://www.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/163994/118809 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66528 Tha คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ผู้ผลิตรายย่อย
น้ำอ้อยก้อนพื้นบ้าน
spellingShingle ผู้ผลิตรายย่อย
น้ำอ้อยก้อนพื้นบ้าน
กนกวรรณ มะโนรมย์
จุฑาทิพย์ วิเศษศิลป์
ผู้ผลิตรายย่อย บทวิเคราะห์เชิงสังคมวิทยา กรณีศึกษาผู้ผลิตน้ำอ้อยก้อนพื้นบ้านจังหวัดกาฬสินธุ์
description วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปี พ.ศ.2513 มีบรรณาธิการและกองบรรณาธิการ ที่ทำงานร่วมกันทั้งที่มาจากคณาจารย์ในคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และอาจารย์นักวิชาการภายนอก จากมหาวิทยาลัยชั้นนำทางด้านสังคมศาสตร์ของประเทศไทย วารสารสังคมศาสตร์ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญคือเพื่อเผยแพร่บทความวิชาการ หรืองานวิจัยทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะทางด้านมานุษยวิทยา การศึกษาการพัฒนาทางด้านภูมิศาสตร์ สังคมวิทยา และสตรีศึกษา ที่มีคุณภาพสู่สังคมวงกว้าง ต่อมาในปี 2561 วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เริ่มจัดทำวารสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online)
author กนกวรรณ มะโนรมย์
จุฑาทิพย์ วิเศษศิลป์
author_facet กนกวรรณ มะโนรมย์
จุฑาทิพย์ วิเศษศิลป์
author_sort กนกวรรณ มะโนรมย์
title ผู้ผลิตรายย่อย บทวิเคราะห์เชิงสังคมวิทยา กรณีศึกษาผู้ผลิตน้ำอ้อยก้อนพื้นบ้านจังหวัดกาฬสินธุ์
title_short ผู้ผลิตรายย่อย บทวิเคราะห์เชิงสังคมวิทยา กรณีศึกษาผู้ผลิตน้ำอ้อยก้อนพื้นบ้านจังหวัดกาฬสินธุ์
title_full ผู้ผลิตรายย่อย บทวิเคราะห์เชิงสังคมวิทยา กรณีศึกษาผู้ผลิตน้ำอ้อยก้อนพื้นบ้านจังหวัดกาฬสินธุ์
title_fullStr ผู้ผลิตรายย่อย บทวิเคราะห์เชิงสังคมวิทยา กรณีศึกษาผู้ผลิตน้ำอ้อยก้อนพื้นบ้านจังหวัดกาฬสินธุ์
title_full_unstemmed ผู้ผลิตรายย่อย บทวิเคราะห์เชิงสังคมวิทยา กรณีศึกษาผู้ผลิตน้ำอ้อยก้อนพื้นบ้านจังหวัดกาฬสินธุ์
title_sort ผู้ผลิตรายย่อย บทวิเคราะห์เชิงสังคมวิทยา กรณีศึกษาผู้ผลิตน้ำอ้อยก้อนพื้นบ้านจังหวัดกาฬสินธุ์
publisher คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/163994/118809
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66528
_version_ 1681426471587938304