การวิเคราะห์ประเภทของวัสดุที่มีผลต่อค่าความเข้มของเสียงที่มีการเปลี่ยนแปลงความถี่เสียง

วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อานนท์ อิศรมงคลรักษ์", รัฐกล วุฑฒวิภาต
Language:Tha
Published: คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_2/07.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66780
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66780
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-667802019-09-17T08:55:03Z การวิเคราะห์ประเภทของวัสดุที่มีผลต่อค่าความเข้มของเสียงที่มีการเปลี่ยนแปลงความถี่เสียง Analysis a material effecting to intensity of sound under variable of frequencies อานนท์ อิศรมงคลรักษ์" รัฐกล วุฑฒวิภาต ค่าความเข้มของเสียง ความถี่เสียง วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทความนี้เป็นการวิเคราะห์คุณสมบัติของประเภทวัสดุที่ทำให้ลดค่าความเข้มเสียงด้วยการจำลองผลผ่านสมการเชิงอนุพันธ์โดยอาศัยระเบียบวิธีไฟไนท์อิลิเมนต์โดยบทความนี้มุ่งเน้นวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของวัสดุประเภทคอนกรีต และประเภทไม้โดยจำลองให้วัสดุทั้งสองประเภทใช้สำหรับจัดทำเป็นห้องทดสอบที่มีแหล่งกำเนิดเสียงที่มีค่าความถี่เสียง เปลี่ยนแปลงตั้งแต่1,000 Hz ถึง 20,000 Hz อีกทั้งยังเปรียบเทียบผลการจำลองกับมาตราฐาน OSHA และจากผลการจำลองแสดงให้เห็นได้ว่าระดับความถี่เสียงทั่วไปที่มนุษย์สัมผัส ซึ่งไม่เกิน 5,000 Hz สามารถใช้วัสดุประเภทคอนกรีต มาช่วยลดค่าความเข้มเสียงได้มากกว่าประเภทไม้ซึ่งค่าประสิทธิภาพของคอนกรีตและไม้ที่ลดค่าความเข้มเสียงคิดเป็น 58.45% และ 51.70% ตามลำดับ 2019-09-17T08:55:03Z 2019-09-17T08:55:03Z 2562 วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2562), 80-85 2672-9695 http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_2/07.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66780 Tha คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ค่าความเข้มของเสียง
ความถี่เสียง
spellingShingle ค่าความเข้มของเสียง
ความถี่เสียง
อานนท์ อิศรมงคลรักษ์"
รัฐกล วุฑฒวิภาต
การวิเคราะห์ประเภทของวัสดุที่มีผลต่อค่าความเข้มของเสียงที่มีการเปลี่ยนแปลงความถี่เสียง
description วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
author อานนท์ อิศรมงคลรักษ์"
รัฐกล วุฑฒวิภาต
author_facet อานนท์ อิศรมงคลรักษ์"
รัฐกล วุฑฒวิภาต
author_sort อานนท์ อิศรมงคลรักษ์"
title การวิเคราะห์ประเภทของวัสดุที่มีผลต่อค่าความเข้มของเสียงที่มีการเปลี่ยนแปลงความถี่เสียง
title_short การวิเคราะห์ประเภทของวัสดุที่มีผลต่อค่าความเข้มของเสียงที่มีการเปลี่ยนแปลงความถี่เสียง
title_full การวิเคราะห์ประเภทของวัสดุที่มีผลต่อค่าความเข้มของเสียงที่มีการเปลี่ยนแปลงความถี่เสียง
title_fullStr การวิเคราะห์ประเภทของวัสดุที่มีผลต่อค่าความเข้มของเสียงที่มีการเปลี่ยนแปลงความถี่เสียง
title_full_unstemmed การวิเคราะห์ประเภทของวัสดุที่มีผลต่อค่าความเข้มของเสียงที่มีการเปลี่ยนแปลงความถี่เสียง
title_sort การวิเคราะห์ประเภทของวัสดุที่มีผลต่อค่าความเข้มของเสียงที่มีการเปลี่ยนแปลงความถี่เสียง
publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_2/07.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66780
_version_ 1681426518821044224