ผลกระทบของอัตราส่วนไอออนประจุบวกที่มีต่อกลไกการแลกเปลี่ยนไอออนของการฉีดอัดน้ำเกลือที่มีความเค็มต่ำในแหล่งกักเก็บหินทราย

วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ชนะพล เจริญธนาวรกุล ", ฟ้าลั่น ศรีสุริยชัย
Language:Tha
Published: คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_2/12.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66786
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66786
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-667862019-09-17T08:55:04Z ผลกระทบของอัตราส่วนไอออนประจุบวกที่มีต่อกลไกการแลกเปลี่ยนไอออนของการฉีดอัดน้ำเกลือที่มีความเค็มต่ำในแหล่งกักเก็บหินทราย The effects of cation ratios on ion exchange mechanism of low salinity waterflooding in sandstone reservoirs ชนะพล เจริญธนาวรกุล " ฟ้าลั่น ศรีสุริยชัย ไอออนประจุบวก กลไกการแลกเปลี่ยนไอออน แหล่งกักเก็บหินทราย วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี งานวิจัยฉบับนี้ได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของการรบกวนระหว่างไอออนประจุบวก 4 ชนิด ได้แก่ โซเดียมไอออน โพแทสเซียมไอออน แคลเซียมไอออนและแมกนีเซียมไอออนที่มีต่อกลไกการแลกเปลี่ยนไอออน ระหว่างไอออนในน้ำเกลือและไอออนที่เกาะบนพื้นผิวของหินทราย ซึ่งเป็นกลไกที่มีความสำคัญในการเพิ่มผลผลิตน้ำมัน งานวิจัยฉบับนี้ได้ทำการทดลองโดยการเปลี่ยนอัตราส่วนความเข้มข้นของไอออนประจุบวกในน้ำเกลือที่ใช้แทนที่น้ำมันทั้งสิ้น 5 ค่าได้แก่ 1:0, 4:1, 1:1, 1:4 และ 0:1 แล้วทำการวัดปริมาณของน้ำมัน ที่ถูกแทนที่จากการใชน้ำเกลือสูตรต่าง ๆ จากผลการศึกษาพบว่า เมื่อความเข้มข้นของแคลเซียมไอออนและแมกนีเซียมไอออนอยู่ในอัตราส่วน 1:1 จะทำให้ปริมาณผลผลิตน้ำมันมีค่าสูงที่สุดซึ่งเท่ากับ 45.25 เปอร์เซ็นต์เนื่องจากเป็นอัตราส่วนที่ทำให้เกิดการเชื่อมกันระหว่างไอออนประจุบวกสองกับน้ำมันที่พื้นผิวของหินน้อยที่สุด ในขณะที่การใช้น้ำเกลือที่มีอัตราส่วนระหว่างโซเดียมไอออนต่อโพแทสเซียม ไอออนเท่ากับ 1:1 จะทำให้เกิดประสิทธิภาพสูงที่สุด กล่าวคือ ได้ผลผลิตน้ำมัน 40.11 เปอร์เซ็นต์เนื่องจากได้รับ ผลกระทบน้อยที่สุดจากการถูกจำกัดปริมาณการเกาะบนพื้นผิวของไอออนประจุบวกหนึ่งแต่ละชนิดไม่ให้มากเกินไป จึงทำให้เกิดกลไกการแลกเปลี่ยนไอออนได้ดีที่สุด นอกจากนี้ยังพบว่าค่าอัตราส่วนความเข้มข้น ระหว่างโซเดียมไอออนกับ แคลเซียมไอออนเท่ากับ 4:1 เป็นค่าที่ทำให้ทั้งกลไกการแลกเปลี่ยนไอออนของไอออนประจุบวกหนึ่งและกลไกการเกิดเป็นสารประกอบเชิงซ้อนของไอออนประจุบวกสองสามารถเกิดขึ้นได้ดีจึงส่งผลให้ปริมาณผลผลิตน้ำมันที่ได้มีค่าสูงสุด ที่ 38.38 เปอร์เซ็นต์ 2019-09-17T08:55:04Z 2019-09-17T08:55:04Z 2562 วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2562), 131-146 2672-9695 http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_2/12.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66786 Tha คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ไอออนประจุบวก
กลไกการแลกเปลี่ยนไอออน
แหล่งกักเก็บหินทราย
spellingShingle ไอออนประจุบวก
กลไกการแลกเปลี่ยนไอออน
แหล่งกักเก็บหินทราย
ชนะพล เจริญธนาวรกุล "
ฟ้าลั่น ศรีสุริยชัย
ผลกระทบของอัตราส่วนไอออนประจุบวกที่มีต่อกลไกการแลกเปลี่ยนไอออนของการฉีดอัดน้ำเกลือที่มีความเค็มต่ำในแหล่งกักเก็บหินทราย
description วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น ได้รับการยอมรับอยู่ในฐานข้อมูล Thailand Citation Index (TCI) กลุ่มที่ 1 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
author ชนะพล เจริญธนาวรกุล "
ฟ้าลั่น ศรีสุริยชัย
author_facet ชนะพล เจริญธนาวรกุล "
ฟ้าลั่น ศรีสุริยชัย
author_sort ชนะพล เจริญธนาวรกุล "
title ผลกระทบของอัตราส่วนไอออนประจุบวกที่มีต่อกลไกการแลกเปลี่ยนไอออนของการฉีดอัดน้ำเกลือที่มีความเค็มต่ำในแหล่งกักเก็บหินทราย
title_short ผลกระทบของอัตราส่วนไอออนประจุบวกที่มีต่อกลไกการแลกเปลี่ยนไอออนของการฉีดอัดน้ำเกลือที่มีความเค็มต่ำในแหล่งกักเก็บหินทราย
title_full ผลกระทบของอัตราส่วนไอออนประจุบวกที่มีต่อกลไกการแลกเปลี่ยนไอออนของการฉีดอัดน้ำเกลือที่มีความเค็มต่ำในแหล่งกักเก็บหินทราย
title_fullStr ผลกระทบของอัตราส่วนไอออนประจุบวกที่มีต่อกลไกการแลกเปลี่ยนไอออนของการฉีดอัดน้ำเกลือที่มีความเค็มต่ำในแหล่งกักเก็บหินทราย
title_full_unstemmed ผลกระทบของอัตราส่วนไอออนประจุบวกที่มีต่อกลไกการแลกเปลี่ยนไอออนของการฉีดอัดน้ำเกลือที่มีความเค็มต่ำในแหล่งกักเก็บหินทราย
title_sort ผลกระทบของอัตราส่วนไอออนประจุบวกที่มีต่อกลไกการแลกเปลี่ยนไอออนของการฉีดอัดน้ำเกลือที่มีความเค็มต่ำในแหล่งกักเก็บหินทราย
publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_2/12.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66786
_version_ 1681426519978672128