การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวว่านจูงนางชนิด Geodorum recurvum (Roxb.) Alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์
วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการ...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00113_C00829.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66876 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-66876 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-668762019-12-03T06:31:24Z การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวว่านจูงนางชนิด Geodorum recurvum (Roxb.) Alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์ Observation on Growth Behaviour of Geodorum recurvum (Roxb.) Alston Pseudobulbs in Nature and in Cultivated Condition for Propagation นฤมล โสตะ โสระยา ร่วมรังษี ฉันทนา สุวรรณธาดา ว่านจูงนาง หัว การเติบโต วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1 ว่านจูงนางชนิด Geodorum recurvum (Roxb.) Alston เป็นกล้วยไม้ดินชนิดหนึ่ง มีลำลูกกล้วยเป็นหัวอยู่ใต้ผิวดิน โครงสร้างของหัวของว่านจูงนางชนิดนี้เป็นแบบหัวเผือก หัวว่านจูงนางแตกต่างจากหัวของกล้วยไม้ดินทั่วไป เนื่องจากหัวเก่าซึ่งเกิดในปีก่อนๆมักจะผุสลายแต่สามารถพบติดกันอยู่และเรียงเป็นแถวในลักษณะเจริญด้านข้าง การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวของว่านจูงนางชนิดนี้ มีจุดประสงค์เพื่อทราบข้อมูลของความเป็นไปได้ในการแยกหัวเก่าของต้นพืชไปปลูกเพื่อขยายพันธุ์ ผลการศึกษาพบว่า หัวเก่าซึ่งติดอยู่กับต้นพืชแต่ละต้นนั้นเกือบทุกหัวยังคงมีชีวิตอยู่ หัวเก่าที่เกิดขึ้นนานถึง 10 ปี เมื่อนำมาแยกออกเป็นหัวเดี่ยว แล้วปลูกสามารถเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ได้ หัวบางหัวที่ฝ่อไปก่อนแล้วเท่านั้นที่ไม่สามารถงอกได้ หัวแยกเดี่ยวเหล่านี้งอกหน่อออกมาได้ 1 หน่อหรือมากกว่า แต่ละหน่อเจริญเติบโตเป็นต้นพืช 1 ต้นและสร้างหัวใหม่ขึ้นมาได้ ผลการศึกษาจึงสรุปได้ว่าหัวเก่าค้างปีของว่านจูงนางมีแนวโน้มใช้เป็นส่วนขยายพันธุ์เพื่อเพิ่มปริมาณต้นพืชได้าผลของสารประกอบแคลเซียมร่วมกับสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชต่อคุณภาพผลของสตรอว์-เบอร์รีพันธุ์พระราชทาน 80 ทำการทดลอง ณ แปลงสตรอว์เบอร์รีของเกษตรกร หมู่บ้านแม่สาใหม่ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ วางแผนการทดลองแบบ Factorial (3x3x3)+1 in RCBD ปัจจัยแรกคือ ระยะการพ่นสาร 3 ระยะ ได้แก่ 1) ระยะหลังดอกบานเต็มที่ 2) ระยะ 14 วันหลังดอกบานเต็มที่ และ 3) ระยะ 21 วันหลังดอกบานเต็มที่ ปัจจัยที่ 2 คือ ชนิดสารประกอบแคลเซียม 3 ชนิด ได้แก่ 1) CaCl2, 2) Ca(NO3)2 และ 3) Ca2+chelated ความเข้มข้น 200 มก./ล. ปัจจัยที่ 3 คือ ชนิดสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 3 ชนิด ได้แก่ 1) GA3 50 มก./ล., 2) CPPU 10 มก./ล. และ 3) NAA 50 มก./ล. เปรียบเทียบกับการพ่นน้ำกลั่น ผลการทดลองพบว่า การพ่น Ca2+chelated ร่วมกับ NAA ที่ระยะ 21 วันหลังดอกบานเต็มที่ ให้น้ำหนักและขนาดของผลมากกว่ากรรมวิธีควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมีแนวโน้มของน้ำหนักผล และขนาดผลมากกว่ากรรมวิธีอื่น ๆ ในขณะที่การพ่นสารในระยะดอกบานเต็มที่พบว่าการพ่นสารประกอบแคลเซียมทุกชนิดร่วมกับ CPPU และ NAA ทำให้มีปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำได้ (TSS) มากกว่ากรรมวิธีควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมีแนวโน้มให้ค่า TSS มากกว่ากรรมวิธีอื่น ๆ และการพ่น Ca2+chelated ร่วมกับสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทั้ง 3 ชนิด สามารถเพิ่มความแน่นเนื้อได้ นอกจากนี้การพ่น CaCl2 และ Ca2+chelated ร่วมกับ NAA สามารถยืดอายุการเก็บรักษาของผลสตรอว์เบอร์รีได้เมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีควบคุม 2019-12-03T06:31:24Z 2019-12-03T06:31:24Z 2554 วารสารเกษตร 27, 2 (มิ.ย. 2554), 187-196 0857-0841 http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00113_C00829.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66876 Tha คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
ว่านจูงนาง หัว การเติบโต |
spellingShingle |
ว่านจูงนาง หัว การเติบโต นฤมล โสตะ โสระยา ร่วมรังษี ฉันทนา สุวรรณธาดา การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวว่านจูงนางชนิด Geodorum recurvum (Roxb.) Alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์ |
description |
วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1 |
author |
นฤมล โสตะ โสระยา ร่วมรังษี ฉันทนา สุวรรณธาดา |
author_facet |
นฤมล โสตะ โสระยา ร่วมรังษี ฉันทนา สุวรรณธาดา |
author_sort |
นฤมล โสตะ |
title |
การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวว่านจูงนางชนิด Geodorum recurvum (Roxb.) Alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์ |
title_short |
การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวว่านจูงนางชนิด Geodorum recurvum (Roxb.) Alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์ |
title_full |
การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวว่านจูงนางชนิด Geodorum recurvum (Roxb.) Alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์ |
title_fullStr |
การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวว่านจูงนางชนิด Geodorum recurvum (Roxb.) Alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์ |
title_full_unstemmed |
การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวว่านจูงนางชนิด Geodorum recurvum (Roxb.) Alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์ |
title_sort |
การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวว่านจูงนางชนิด geodorum recurvum (roxb.) alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์ |
publisher |
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2019 |
url |
http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00113_C00829.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66876 |
_version_ |
1681426530421440512 |