กลไกทางกฎหมายกับการคุ้มครองสิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีจากมลพิษข้ามพรมแดนของประเทศไทย: กรณีศึกษาเหมืองถ่านหินและโรงไฟฟ้าถ่านหินหงสา แขวงไซยะบุรี ประเทศลาว

CMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความร...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์
Language:Tha
Published: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/104703/97424
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66907
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66907
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-669072019-12-03T06:32:24Z กลไกทางกฎหมายกับการคุ้มครองสิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีจากมลพิษข้ามพรมแดนของประเทศไทย: กรณีศึกษาเหมืองถ่านหินและโรงไฟฟ้าถ่านหินหงสา แขวงไซยะบุรี ประเทศลาว Legal Mechanisms to Protect Right to Live in the Decent Environment from Transboundary Pollution: A Case Study of Hong Sa Coal Mining and Coal Power Plant in Xayaburi Province, Lao PDR สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ สิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ผลกระทบข้ามพรมแดน มลพิษข้ามพรมแดน คดีสิ่งแวดล้อม CMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ในสาขาต่างๆ บทความนี้มุ่งตอบคำถามว่ารัฐไทยมีกฎหมายและกลไกที่เพียงพอต่อการปกป้องคุ้มครองสิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีของประชาชนจากผลกระทบข้ามพรมแดนที่อาจเกิดขึ้นจากโครงการพัฒนาที่อยู่นอกเขตประเทศไทยหรือไม่อย่างไร บทความนี้ใช้กรณีเหมืองถ่านหินและโรงไฟฟ้าถ่านหินหงสา แขวงไซยะบุรี ประเทศลาวเป็นกรณีศึกษา จากการศึกษาพบว่าระบบกฎหมาย กลไกฝ่ายบริหารและองค์กรตุลาการของไทย ให้การยอมรับว่าสิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีของประชาชนไทยเป็นสิทธิที่รัฐธรรมนูญและกฎหมายระดับพระราชบัญญัติได้รับรองและคุ้มครองไว้อย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ พ.ศ. 2540 จนถึงปัจจุบัน โดยรัฐไทยได้จัดตั้งหน่วยงานขึ้นหลายหน่วยงานเพื่อรับผิดชอบดำเนินการให้สิทธิดังกล่าวได้รับการปกป้องคุ้มครองจริง องค์กรตุลาการทั้งศาลยุติธรรมและศาลปกครองได้ตั้งแผนกสิ่งแวดล้อมและจัดทำแนวทางการพิจารณาคดีเฉพาะขึ้นมาใช้ในการพิจารณาคดีสิ่งแวดล้อมเพื่อให้การดำเนินคดีมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยภาพรวมรัฐไทยให้ความสำคัญกับสิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีและมีการดำเนินการเพื่อปกป้องและคุ้มครองสิทธิดังกล่าวอย่างเป็นรูปธรรม อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาปัญหาผลกระทบข้ามพรมแดนที่อาจเกิดจากโครงการขนาดใหญ่ เช่น โครงการเหมืองถ่านหินและโรงไฟฟ้าถ่านหินหงสา แขวงไซยะบุรี ประเทศลาว ที่ตั้งอยู่ห่างจากชายแดนไทยประมาณ 27 กิโลเมตร ซึ่งมีความเสี่ยงที่จะส่งผลกระทบต่อสิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีของประชาชนไทย กลับพบว่ารัฐไทยไม่มีกฎหมาย กลไกฝ่ายบริหารหรือองค์กรตุลาการที่ออกแบบมาเพื่อจัดการกับปัญหาประเภทนี้โดยเฉพาะ อีกทั้งเมื่อพิจารณากฎหมายและกลไกที่มีอยู่ก็พบว่ามีข้อจำกัดหลายประการที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการปกป้องคุ้มครองสิทธิของประชาชน ในแง่นี้จึงกล่าวได้ว่าระบบกฎหมายที่เป็นอยู่ของรัฐไทย ไม่อาจให้หลักประกันในการปกป้องคุ้มครองสิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีจากปัญหาผลกระทบข้ามพรมแดนได้ รัฐไทยจึงจำเป็นต้องทำข้อตกลงกับประเทศเพื่อนบ้าน ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายและกลไกบริหารบางประการเพื่ออุดช่องว่างในการคุ้มครองสิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี 2019-12-03T06:32:24Z 2019-12-03T06:32:24Z 2562 นิติสังคมศาสตร์ 11, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2562), 55-86 2586-9604 https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/104703/97424 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66907 Tha คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic สิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี
ผลกระทบข้ามพรมแดน
มลพิษข้ามพรมแดน
คดีสิ่งแวดล้อม
spellingShingle สิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี
ผลกระทบข้ามพรมแดน
มลพิษข้ามพรมแดน
คดีสิ่งแวดล้อม
สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์
กลไกทางกฎหมายกับการคุ้มครองสิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีจากมลพิษข้ามพรมแดนของประเทศไทย: กรณีศึกษาเหมืองถ่านหินและโรงไฟฟ้าถ่านหินหงสา แขวงไซยะบุรี ประเทศลาว
description CMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ในสาขาต่างๆ
author สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์
author_facet สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์
author_sort สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์
title กลไกทางกฎหมายกับการคุ้มครองสิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีจากมลพิษข้ามพรมแดนของประเทศไทย: กรณีศึกษาเหมืองถ่านหินและโรงไฟฟ้าถ่านหินหงสา แขวงไซยะบุรี ประเทศลาว
title_short กลไกทางกฎหมายกับการคุ้มครองสิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีจากมลพิษข้ามพรมแดนของประเทศไทย: กรณีศึกษาเหมืองถ่านหินและโรงไฟฟ้าถ่านหินหงสา แขวงไซยะบุรี ประเทศลาว
title_full กลไกทางกฎหมายกับการคุ้มครองสิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีจากมลพิษข้ามพรมแดนของประเทศไทย: กรณีศึกษาเหมืองถ่านหินและโรงไฟฟ้าถ่านหินหงสา แขวงไซยะบุรี ประเทศลาว
title_fullStr กลไกทางกฎหมายกับการคุ้มครองสิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีจากมลพิษข้ามพรมแดนของประเทศไทย: กรณีศึกษาเหมืองถ่านหินและโรงไฟฟ้าถ่านหินหงสา แขวงไซยะบุรี ประเทศลาว
title_full_unstemmed กลไกทางกฎหมายกับการคุ้มครองสิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีจากมลพิษข้ามพรมแดนของประเทศไทย: กรณีศึกษาเหมืองถ่านหินและโรงไฟฟ้าถ่านหินหงสา แขวงไซยะบุรี ประเทศลาว
title_sort กลไกทางกฎหมายกับการคุ้มครองสิทธิในการมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีจากมลพิษข้ามพรมแดนของประเทศไทย: กรณีศึกษาเหมืองถ่านหินและโรงไฟฟ้าถ่านหินหงสา แขวงไซยะบุรี ประเทศลาว
publisher คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/104703/97424
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66907
_version_ 1681426535919124480