การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวว่านจูงนางชนิด Geodoruการเพาะเลี้ยงผึ้งชันโรงนางพญา Tetragonula laeviceps(Smith)Species Complex ในสภาพกึ่งธรรมชาติm recurvum (Roxb.) Alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์

วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ทักษพร สมมิตร, จิราพร กุลสาริน, ไสว บูรณพานิชพันธุ์, สมนึก บุญเกิด, กนกวรรณ คำยอดใจ, กฤษณะ เรืองฤทธิ์
Language:Tha
Published: คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/215881/150711
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66929
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66929
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-669292019-12-03T08:56:54Z การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวว่านจูงนางชนิด Geodoruการเพาะเลี้ยงผึ้งชันโรงนางพญา Tetragonula laeviceps(Smith)Species Complex ในสภาพกึ่งธรรมชาติm recurvum (Roxb.) Alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์ ObservatioIn VitroRearing of Stingless Bee QueenTetragonula laeviceps(Smith) Species Complexn on Growth Behaviour of Geodorum recurvum (Roxb.) Alston Pseudobulbs in Nature and in Cultivated Condition for Propagation ทักษพร สมมิตร จิราพร กุลสาริน ไสว บูรณพานิชพันธุ์ สมนึก บุญเกิด กนกวรรณ คำยอดใจ กฤษณะ เรืองฤทธิ์ ผึ้งชันโรงนางพญา การเติบโต การเพาะเลี้ยงสภาพกึ่งธรรมชาติ วงจรชีวิต วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1 การเพาะเลี้ยงผึ้งชันโรง Tetragonula laeviceps (Smith) species complex ในรังเลี้ยงเป็นอุตสาหกรรมอย่างหนึ่งที่เกษตรกรนิยมเลี้ยงไว้เพื่อเพิ่มขยายจำนวนรังในเชิงการค้า แต่เนื่องจากผึ้งชันโรงนางพญาที่มีจำกัดภายในรังทำให้ขยายรังได้น้อย การทดลองวิจัยในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณอาหารที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงผึ้งชันโรงนางพญาในสภาพกึ่งธรรมชาติ วงจรชีวิตและการอนุบาลผึ้งชันโรงนางพญาพรหมจรรย์ โดยเพาะเลี้ยงภายใต้ตู้ควบคุมอุณหภูมิ 28 ± 1 องศาเซลเซียส ความชื้น 70-75 เปอร์เซ็นต์ พบว่าปริมาณอาหารที่ตัวหนอนได้รับ 64 ไมโครลิตร พบอัตรารอดในระยะตัวหนอน ดักแด้ และตัวเต็มวัย เฉลี่ยอยู่ที่ 34.28, 39.10 และ 62.63 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ขนาดของผึ้งชันโรงนางพญาเล็กกว่าผึ้งชันโรงนางพญาที่เพาะเลี้ยงตามธรรมชาติ การศึกษาวงจรชีวิตของผึ้งชันโรงนางพญา พบว่ามีการเจริญเติบโต 4 ระยะ คือ ระยะไข่ ระยะตัวหนอน ระยะดักแด้ และระยะตัวเต็มวัย ระยะเวลาการเจริญเติบโตตั้งแต่ระยะไข่จนเข้าสู่ระยะตัวเต็มวัย ใช้เวลาเฉลี่ย 44.50 ± 0.53 วัน การอนุบาลผึ้งชันโรงนางพญาพรหมจรรย์ 3 วัน พบว่าหากผึ้งชันโรงงานยอมรับผึ้งชันโรงนางพญาพรหมจรรย์ จะไม่กัดหรือทำร้ายและมีการป้อนอาหารให้ สามารถนำไปปล่อยไว้ในรังที่ไม่มีผึ้งชันโรงนางพญาได้ หลังจากปล่อยเข้าสู่รัง 12 ชั่วโมง พบว่าผึ้งชันโรงนางพญาพรหมจรรย์ผสมพันธุ์กับผึ้งชันโรงตัวผู้ และวางไข่เพื่อเพิ่มจำนวนประชากร 2019-12-03T08:56:54Z 2019-12-03T08:56:54Z 2562 วารสารเกษตร 35, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2562), 343-353 0857-0841 https://www.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/215881/150711 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66929 Tha คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ผึ้งชันโรงนางพญา
การเติบโต
การเพาะเลี้ยงสภาพกึ่งธรรมชาติ
วงจรชีวิต
spellingShingle ผึ้งชันโรงนางพญา
การเติบโต
การเพาะเลี้ยงสภาพกึ่งธรรมชาติ
วงจรชีวิต
ทักษพร สมมิตร
จิราพร กุลสาริน
ไสว บูรณพานิชพันธุ์
สมนึก บุญเกิด
กนกวรรณ คำยอดใจ
กฤษณะ เรืองฤทธิ์
การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวว่านจูงนางชนิด Geodoruการเพาะเลี้ยงผึ้งชันโรงนางพญา Tetragonula laeviceps(Smith)Species Complex ในสภาพกึ่งธรรมชาติm recurvum (Roxb.) Alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์
description วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1
author ทักษพร สมมิตร
จิราพร กุลสาริน
ไสว บูรณพานิชพันธุ์
สมนึก บุญเกิด
กนกวรรณ คำยอดใจ
กฤษณะ เรืองฤทธิ์
author_facet ทักษพร สมมิตร
จิราพร กุลสาริน
ไสว บูรณพานิชพันธุ์
สมนึก บุญเกิด
กนกวรรณ คำยอดใจ
กฤษณะ เรืองฤทธิ์
author_sort ทักษพร สมมิตร
title การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวว่านจูงนางชนิด Geodoruการเพาะเลี้ยงผึ้งชันโรงนางพญา Tetragonula laeviceps(Smith)Species Complex ในสภาพกึ่งธรรมชาติm recurvum (Roxb.) Alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์
title_short การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวว่านจูงนางชนิด Geodoruการเพาะเลี้ยงผึ้งชันโรงนางพญา Tetragonula laeviceps(Smith)Species Complex ในสภาพกึ่งธรรมชาติm recurvum (Roxb.) Alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์
title_full การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวว่านจูงนางชนิด Geodoruการเพาะเลี้ยงผึ้งชันโรงนางพญา Tetragonula laeviceps(Smith)Species Complex ในสภาพกึ่งธรรมชาติm recurvum (Roxb.) Alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์
title_fullStr การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวว่านจูงนางชนิด Geodoruการเพาะเลี้ยงผึ้งชันโรงนางพญา Tetragonula laeviceps(Smith)Species Complex ในสภาพกึ่งธรรมชาติm recurvum (Roxb.) Alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์
title_full_unstemmed การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวว่านจูงนางชนิด Geodoruการเพาะเลี้ยงผึ้งชันโรงนางพญา Tetragonula laeviceps(Smith)Species Complex ในสภาพกึ่งธรรมชาติm recurvum (Roxb.) Alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์
title_sort การสังเกตพฤติกรรมการเติบโตของหัวว่านจูงนางชนิด geodoruการเพาะเลี้ยงผึ้งชันโรงนางพญา tetragonula laeviceps(smith)species complex ในสภาพกึ่งธรรมชาติm recurvum (roxb.) alston ในสภาพธรรมชาติและสภาพปลูกเลี้ยงเพื่องานขยายพันธุ์
publisher คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/215881/150711
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66929
_version_ 1681426540066242560