การถ่ายทอดลักษณะแคระในเฟินกูดดอยใบมัน

วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุรวิช วรรณไกรโรจน์, จารุพันธ์ ทองแถม, อนุพันธ์ สุรินรังษี
Language:Tha
Published: คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/215944/150719
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66941
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66941
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-669412019-12-03T08:56:54Z การถ่ายทอดลักษณะแคระในเฟินกูดดอยใบมัน Inheritance of Dwarfism in Blechnum gibbumMett. สุรวิช วรรณไกรโรจน์ จารุพันธ์ ทองแถม อนุพันธ์ สุรินรังษี เฟิน ไม้กระถาง พันธุกรรม ปรับปรุงพันธุ์ วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1 เฟินกูดดอยใบมัน (Blechnum gibbum Mett.) เป็นเฟินต้นกระถางขนาดเล็กที่มีการใช้ประโยชน์ในหลายประเทศ ทั้งเขตกึ่งร้อนและเขตร้อนชื้น เฟินกูดดอยใบมันแคระซึ่งเกิดจากการกระจายตัวในการเพาะสปอร์ของเฟินกูดดอยใบมันต้นปกติ มีลักษณะที่เหมาะสมยิ่งขึ้นในการใช้ประดับในพื้นที่จำกัด เช่นโต๊ะทำงาน ทำให้เป็นที่ต้องการของผู้บริโภค แต่เฟินกูดดอยใบมันแคระไม่สร้างสปอร์อันเป็นข้อจำกัดในการขยายพันธุ์ จึงได้ศึกษารูปแบบการถ่ายทอดลักษณะแคระโดยการเพาะสปอร์ซึ่งเก็บจากเฟินกูดดอยใบมันต้นที่มีลักษณะปกติซึ่งมีประวัติเคยให้ลูกจำนวนหนึ่งที่มีลักษณะแคระ เพื่อเป็นแนวทางผลิตเชิงการค้าในอนาคต การศึกษาการกระจายตัวในรุ่นลูกจำนวน 7,463 ต้น พบว่ามีต้นปกติ จำนวน 2,341 ต้น และต้นแคระ จำนวน 5,122 ต้น ซึ่งเมื่อทดสอบโดย chi-square “goodness of fit test พบว่าลักษณะต้นแคระอยู่ภายใต้การควบคุมของอัลลีลแฝง จำนวน 4 ตำแหน่ง จึงกำหนดชื่อว่า อัลลีล d1, d2, d3 และ d4 ที่มีการทำงานแบบ duplicate recessive epistasis ดังนั้นการผลิตเฟินกูดดอยใบมันแคระให้ได้ปริมาณมากในเชิงการค้า จึงสามารถใช้วิธีเพาะสปอร์จากต้นที่เป็น heterozygote ของยีนทั้งสี่ตำแหน่ง 2019-12-03T08:56:54Z 2019-12-03T08:56:54Z 2562 วารสารเกษตร 35, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2562), 395-400 0857-0841 https://www.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/215944/150719 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66941 Tha คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic เฟิน
ไม้กระถาง
พันธุกรรม
ปรับปรุงพันธุ์
spellingShingle เฟิน
ไม้กระถาง
พันธุกรรม
ปรับปรุงพันธุ์
สุรวิช วรรณไกรโรจน์
จารุพันธ์ ทองแถม
อนุพันธ์ สุรินรังษี
การถ่ายทอดลักษณะแคระในเฟินกูดดอยใบมัน
description วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) กลุ่มที่ 1
author สุรวิช วรรณไกรโรจน์
จารุพันธ์ ทองแถม
อนุพันธ์ สุรินรังษี
author_facet สุรวิช วรรณไกรโรจน์
จารุพันธ์ ทองแถม
อนุพันธ์ สุรินรังษี
author_sort สุรวิช วรรณไกรโรจน์
title การถ่ายทอดลักษณะแคระในเฟินกูดดอยใบมัน
title_short การถ่ายทอดลักษณะแคระในเฟินกูดดอยใบมัน
title_full การถ่ายทอดลักษณะแคระในเฟินกูดดอยใบมัน
title_fullStr การถ่ายทอดลักษณะแคระในเฟินกูดดอยใบมัน
title_full_unstemmed การถ่ายทอดลักษณะแคระในเฟินกูดดอยใบมัน
title_sort การถ่ายทอดลักษณะแคระในเฟินกูดดอยใบมัน
publisher คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/215944/150719
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66941
_version_ 1681426542313340928