การวิเคราะห์การเติบโตผลิตภาพปัจจัยรวมของธุรกิจประกันวินาศภัยในประเทศไทยหลังวิกฤติเศรษฐกิจปี พ.ศ. 2540

วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ไพลิน สันติกุล
Language:Tha
Published: คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/78960/71749
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66980
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66980
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-669802019-12-03T08:56:55Z การวิเคราะห์การเติบโตผลิตภาพปัจจัยรวมของธุรกิจประกันวินาศภัยในประเทศไทยหลังวิกฤติเศรษฐกิจปี พ.ศ. 2540 Total Factor Productivity Growth Analysis of Non-Life Insurance in Thailand after the 1997 Asian Financial Crisis ไพลิน สันติกุล ประกันวินาศภัย การวิเคราะห์การล้อมกรอบข้อมูล การเติบโตผลิตภาพปัจจัยรวม การเปลี่ยนแปลงเชิงเทคนิค การเปลี่ยนแปลงประสิทธิภาพเชิงเทคนิค วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเติบโตผลิตภาพปัจจัยรวมและองค์ประกอบที่ส่งผลต่อการเติบโตผลิตภาพปัจจัยรวมของธุรกิจประกันวินาศภัยในประเทศไทยหลังวิกฤติเศรษฐกิจปี พ.ศ. 2540 ในช่วงปี พ.ศ. 2541-2557 โดยใช้เลขดัชนีผลิตภาพการเติบโตปัจจัยรวมของ Malmquist ทางด้านผลผลิตด้วยวิธีการวิเคราะห์การล้อมกรอบข้อมูล (Data Envelopment Analysis: DEA) ที่วัดทางด้านจำนวนกรมธรรม์เท่านั้น การศึกษานี้ใช้ข้อมูลแบบผสม (Panel) ของ 63 บริษัทจากรายงานประจำปีของบริษัทประกันวินาศภัยที่รายงานต่อสำนักงานอัตราเบี้ยประกันวินาศภัย สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) โดยแบ่งบริษัทประกันวินาศภัยเป็น 2 กลุ่มคือกลุ่มส่วนแบ่งตลาด 15 อันดับแรกและกลุ่มส่วนแบ่งตลาดอื่นๆ จากการศึกษาพบว่าลักษณะสำคัญของธุรกิจประกันวินาศภัยในประเทศไทยคือ มีบริษัทขนาดเล็กอยู่เป็นจำนวนมากและขนาดแตกต่างกันอย่างชัดเจน การรับประกันภัยเป็นแบบกระจุกตัว เป็นธุรกิจประเภทใช้แรงงานเข้มข้น และรูปแบบกรมธรรม์ของแต่ละบริษัทไม่มีความแตกต่างกัน ทั้งนี้นับแต่ปี พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา ภายใต้กฎระเบียบการดำเนินงานที่เข้มงวดและการแข่งขันในอุตสาหกรรมประกันวินาศภัยที่รุนแรง เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทในกระบวนการดำเนินงานเพื่อเพิ่มผลิตภาพและสร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขันทั้งด้านสำนักงาน การขาย และการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน ผลการวิเคราะห์การเติบโตผลิตภาพปัจจัยรวมของบริษัทประกันวินาศภัยในประเทศไทยในช่วงปี พ.ศ. 2541-2557 พบว่ามีการเติบโตอย่างก้าวหน้าจำนวน 40 บริษัทและอีก 23 บริษัทที่เหลือเติบโตอย่างถดถอย จากการศึกษาองค์ประกอบที่ส่งผลต่อการเติบโตผลิตภาพปัจจัยรวมพบว่าบริษัทประกันวินาศภัยโดยส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงเชิงเทคนิคอย่างก้าวหน้า แต่การเปลี่ยนแปลงประสิทธิภาพเชิงเทคนิคทางด้านผลผลิตเป็นไปอย่างถดถอย กล่าวคือ บริษัทประกันวินาศภัยโดยส่วนใหญ่มีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในธุรกิจประกันวินาศภัยหลังวิกฤติทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540 ในปริมาณที่เพิ่มมากขึ้นแต่ไม่มีการบริหารจัดการจำนวนสาขา พนักงานและผู้บริหารอย่างเหมาะสม บริษัทประกันวินาศภัยที่มีการเติบโตผลิตภาพปัจจัยรวมสูงสุด 5 อันดับแรกได้แก่ บริษัท กรุงเทพประกันสุขภาพ ทูนประกันภัย นิวอินเดียแอสชัวรันซ์ พุทธธรรมประกันภัย และบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัย ซึ่งไม่อยู่ในกลุ่มบริษัทประกันวินาศภัยที่มีส่วนแบ่งตลาด 15 อันดับแรกโดยบริษัทที่อยู่ในกลุ่มส่วนแบ่งตลาด 15 อันดับแรกมีการเติบโตผลิตภาพปัจจัยรวมและการเปลี่ยนแปลงเชิงเทคนิคในช่วงปี พ.ศ. 2541-2557 น้อยกว่าบริษัทที่อยู่ในกลุ่มส่วนแบ่งตลาดอื่นๆ แต่การเปลี่ยนแปลงประสิทธิภาพเชิงเทคนิคทางด้านผลผลิตมากกว่ากล่าวคือบริษัทที่อยู่ในกลุ่มส่วนแบ่งตลาด 15 อันดับแรกนำเทคโนโลยีมาใช้น้อยกว่าแต่มีการบริหารจัดการปัจจัยการผลิตอย่างเหมาะสมมากกว่าถึงแม้จะมีจำนวนสาขา พนักงานและผู้บริหารในปริมาณที่มากกว่าเมื่อเทียบกับกลุ่มส่วนแบ่งตลาดอื่นๆ 2019-12-03T08:56:55Z 2019-12-03T08:56:55Z 2560 วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 21, 1 (ม.ค.-ก.ค. 2560), 1-30 0859-8479 https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/78960/71749 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66980 Tha คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ประกันวินาศภัย
การวิเคราะห์การล้อมกรอบข้อมูล
การเติบโตผลิตภาพปัจจัยรวม
การเปลี่ยนแปลงเชิงเทคนิค
การเปลี่ยนแปลงประสิทธิภาพเชิงเทคนิค
spellingShingle ประกันวินาศภัย
การวิเคราะห์การล้อมกรอบข้อมูล
การเติบโตผลิตภาพปัจจัยรวม
การเปลี่ยนแปลงเชิงเทคนิค
การเปลี่ยนแปลงประสิทธิภาพเชิงเทคนิค
ไพลิน สันติกุล
การวิเคราะห์การเติบโตผลิตภาพปัจจัยรวมของธุรกิจประกันวินาศภัยในประเทศไทยหลังวิกฤติเศรษฐกิจปี พ.ศ. 2540
description วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการ
author ไพลิน สันติกุล
author_facet ไพลิน สันติกุล
author_sort ไพลิน สันติกุล
title การวิเคราะห์การเติบโตผลิตภาพปัจจัยรวมของธุรกิจประกันวินาศภัยในประเทศไทยหลังวิกฤติเศรษฐกิจปี พ.ศ. 2540
title_short การวิเคราะห์การเติบโตผลิตภาพปัจจัยรวมของธุรกิจประกันวินาศภัยในประเทศไทยหลังวิกฤติเศรษฐกิจปี พ.ศ. 2540
title_full การวิเคราะห์การเติบโตผลิตภาพปัจจัยรวมของธุรกิจประกันวินาศภัยในประเทศไทยหลังวิกฤติเศรษฐกิจปี พ.ศ. 2540
title_fullStr การวิเคราะห์การเติบโตผลิตภาพปัจจัยรวมของธุรกิจประกันวินาศภัยในประเทศไทยหลังวิกฤติเศรษฐกิจปี พ.ศ. 2540
title_full_unstemmed การวิเคราะห์การเติบโตผลิตภาพปัจจัยรวมของธุรกิจประกันวินาศภัยในประเทศไทยหลังวิกฤติเศรษฐกิจปี พ.ศ. 2540
title_sort การวิเคราะห์การเติบโตผลิตภาพปัจจัยรวมของธุรกิจประกันวินาศภัยในประเทศไทยหลังวิกฤติเศรษฐกิจปี พ.ศ. 2540
publisher คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/78960/71749
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66980
_version_ 1681426549591506944