การศึกษาเปรียบเทียบความหนาของกระดูกทึบด้านแก้ม ในผู้ป่วยไทยที่มีการเจริญเติบโต และมีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ด้านเดียว โดยใช้โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี

เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ชนชล ไตรรัตนประดิษฐ์, เสาวภาคย์ ธงวิจิตรมณี, มารศรี ชัยวรวิทย์กุล
Language:Tha
Published: คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2562_40_3_528.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66999
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-66999
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-669992019-12-03T08:56:55Z การศึกษาเปรียบเทียบความหนาของกระดูกทึบด้านแก้ม ในผู้ป่วยไทยที่มีการเจริญเติบโต และมีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ด้านเดียว โดยใช้โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี Comparison of the Buccal Cortical Bone Thickness in Growing Thai Patients with Unilateral Cleft Lip and Palate Using Cone-Beam Computed Tomography ชนชล ไตรรัตนประดิษฐ์ เสาวภาคย์ ธงวิจิตรมณี มารศรี ชัยวรวิทย์กุล ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ ความหนาของกระดูก โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความหนาของกระดูกทึบด้านแก้มบริเวณสันกระดูกโหนกแก้มส่วนใต้ ในผู้ป่วยไทยที่มีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ด้านเดียวซึ่งยังมีการเจริญเติบโต ระหว่างด้านที่มีรอยแยกและด้านที่ไม่มีรอยแยก โดยใช้โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี วัสดุและวิธีการ: ภาพรังสีโคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟีบริเวณสันกระดูกโหนกแก้มจ านวน 40 ภาพ จากผู้ป่วยไทยที่มีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ด้านเดียวก่อนเริ่มรักษาทางทันตกรรมจัดฟันจ านวน 20 ราย ถูกน ามาวัดโดยใช้โปรแกรมเดนตีแพลน โปรเฟสชันนอลเวอร์ชัน 3.0 เส้นตัด 5 เส้นซึ่งมีระยะห่างระหว่างเส้น 1.2 มิลลิเมตร โดยเริ่มจากระดับ 6.0 มิลลิเมตร ถึง 10.8 มิลลิเมตร จากรอยต่อเคลือบฟันกับเคลือบรากฟันของฟันกรามแท้บนซี่ที่ 1 ไปทางรากฟัน ถูกสร้างขึ้นเพื่อท าการวัด การทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มไม่อิสระ ถูกน ามาใช้เพื่อประเมินความแตกต่างของความหนาของกระดูกทึบด้านแก้มระหว่างด้านที่มีรอยแยกและด้านที่ไม่มีรอยแยก ผลการศึกษา: กระดูกทึบด้านแก้มมีความหนาตั้งแต่ 1.08+0.30 ถึง 2.16+1.17 มิลลิเมตร จากรอยต่อเคลือบฟันกับเคลือบรากฟันไปยังปลายรากฟันในด้านที่ไม่มีรอยแยก และ 1.19+0.37 ถึง 3.36+2.80 มิลลิเมตรในด้านที่มีรอยแยก โดยต าแหน่งที่มีความหนามากที่สุดพบที่บริเวณรากด้านแก้มไกลกลางของฟันกรามแท้บนซี่ที่ 1 โดยมีความหนาเพิ่มขึ้นจากรอยต่อเคลือบฟันกับเคลือบรากฟันไปยังปลายรากฟัน และพบความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญของค่าที่วัดได้ระหว่างด้านที่ไม่มีรอยแยกและด้านที่มีรอยแยกที่ระดับนัยส าคัญทางสถิติน้อยกว่า 0.05 บทสรุป: ความหนาของกระดูกทึบด้านแก้มในทุกต าแหน่งที่วัดมีค่ามากกว่า 1.0 มิลลิเมตร ทั้งด้านที่ไม่มีรอยแยกและด้านที่มีรอยแยก โดยมีความหนาเพิ่มขึ้นจากรอยต่อเคลือบฟันกับเคลือบรากฟันไปยังปลายรากฟัน นอกจากนี้ค่าที่วัดได้ส่วนใหญ่ของด้านที่มีรอยแยกมีค่ามากกว่าด้านที่ไม่มีรอยแยกอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ 2019-12-03T08:56:55Z 2019-12-03T08:56:55Z 2562 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 40,3 (ก.ย.-ธ.ค. 2562) 81-89 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2562_40_3_528.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66999 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่
ความหนาของกระดูก
โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี
spellingShingle ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่
ความหนาของกระดูก
โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี
ชนชล ไตรรัตนประดิษฐ์
เสาวภาคย์ ธงวิจิตรมณี
มารศรี ชัยวรวิทย์กุล
การศึกษาเปรียบเทียบความหนาของกระดูกทึบด้านแก้ม ในผู้ป่วยไทยที่มีการเจริญเติบโต และมีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ด้านเดียว โดยใช้โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี
description เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม
author ชนชล ไตรรัตนประดิษฐ์
เสาวภาคย์ ธงวิจิตรมณี
มารศรี ชัยวรวิทย์กุล
author_facet ชนชล ไตรรัตนประดิษฐ์
เสาวภาคย์ ธงวิจิตรมณี
มารศรี ชัยวรวิทย์กุล
author_sort ชนชล ไตรรัตนประดิษฐ์
title การศึกษาเปรียบเทียบความหนาของกระดูกทึบด้านแก้ม ในผู้ป่วยไทยที่มีการเจริญเติบโต และมีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ด้านเดียว โดยใช้โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี
title_short การศึกษาเปรียบเทียบความหนาของกระดูกทึบด้านแก้ม ในผู้ป่วยไทยที่มีการเจริญเติบโต และมีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ด้านเดียว โดยใช้โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี
title_full การศึกษาเปรียบเทียบความหนาของกระดูกทึบด้านแก้ม ในผู้ป่วยไทยที่มีการเจริญเติบโต และมีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ด้านเดียว โดยใช้โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี
title_fullStr การศึกษาเปรียบเทียบความหนาของกระดูกทึบด้านแก้ม ในผู้ป่วยไทยที่มีการเจริญเติบโต และมีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ด้านเดียว โดยใช้โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี
title_full_unstemmed การศึกษาเปรียบเทียบความหนาของกระดูกทึบด้านแก้ม ในผู้ป่วยไทยที่มีการเจริญเติบโต และมีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ด้านเดียว โดยใช้โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี
title_sort การศึกษาเปรียบเทียบความหนาของกระดูกทึบด้านแก้ม ในผู้ป่วยไทยที่มีการเจริญเติบโต และมีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ด้านเดียว โดยใช้โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี
publisher คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2562_40_3_528.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66999
_version_ 1681426553117868032