ความหนาของกระดูกด้านแก้มบริเวณสันกระดูกโหนกแก้มส่วนใต้ในผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ไทยที่มีการเจริญเติบโตอยู่
เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2562_40_2_511.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67002 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-67002 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-670022019-12-03T08:56:55Z ความหนาของกระดูกด้านแก้มบริเวณสันกระดูกโหนกแก้มส่วนใต้ในผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ไทยที่มีการเจริญเติบโตอยู่ Buccal Bone Thickness at Infrazygomatic Crest Site in Thai Growing Unilateral Cleft Lip and Palate Patients ชนชล ไตรรัตนประดิษฐ์ มารศรี ชัยวรวิทย์กุล กระดูกด้านแก้ม สันกระดูกโหนกแก้มส่วนใต้ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความหนาของกระดูกด้านแก้มบริเวณสันกระดูกโหนกแก้มส่วนใต้ในผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ที่มีการเจริญเติบโตอยู่ โดยใช้โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี วัสดุและวิธีการ: กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยภาพรังสีโคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟีบริเวณสันกระดูกโหนกแก้มจำนวน 40 ภาพ จากผู้ป่วยไทยที่มีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ด้านเดียวก่อนเริ่มรักษาทางทันตกรรมจัดฟันจำนวน 20 ราย (อายุ 7-13 ปี) โดยค่าความหนาของกระดูกด้านแก้มบริเวณรากด้านแก้ม-ใกล้กลาง จุดกึ่งกลางระหว่างรากด้านแก้ม-ใกล้กลางและรากด้านแก้ม-ไกลกลาง ของฟันกรามแท้บนซี่ที่หนึ่ง ที่ระดับความสูงแตกต่างกัน 5 ระดับ (4.8, 6.0, 7.2, 8.4 และ 9.6 มิลลิเมตร) จากรอยต่อเคลือบฟันกับเคลือบรากฟันของฟันกรามแท้บนซี่ที่หนึ่ง ไปทางปลายรากฟัน ถูกทำการวัด ผลการศึกษา: กระดูกด้านแก้มของด้านที่ไม่มีรอยแยกมีความหนาตั้งแต่ 2.23+1.25 ถึง 5.34+3.67มิลลิเมตร จากรอยต่อเคลือบฟันกับเคลือบรากฟันไปยังปลายรากฟัน และกระดูกด้านแก้มของด้านที่มีรอยแยกมีความหนาตั้งแต่ 2.57+1.42 ถึง 6.53+3.40 มิลลิเมตร จากระยะคอฟันไปยังปลายรากฟัน โดยทั้งสองด้านจะมีความหนาของกระดูกบริเวณรากด้านแก้มไกลกลางมากกว่าบริเวณกึ่งกลางและบริเวณใกล้กลาง นอกจากนี้ค่าที่วัดได้ของด้านที่มีรอยแยกมีค่ามากกว่าด้านที่ไม่มีรอยแยกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเพียงบางตำแหน่ง บทสรุป: การศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่าความหนาของกระดูกด้านแก้มบริเวณสันกระดูกโหนกแก้มส่วนใต้ของผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ด้านเดียวทั้งด้านที่ไม่มีรอยแยกและด้านที่มีรอยแยกจะมีความหนาเพิ่มขึ้นจากรอยต่อเคลือบฟันกับเคลือบรากฟันของฟันกรามแท้บนซี่ที่หนึ่งไปทางรากฟัน และเพิ่มขึ้นจากด้านใกล้กลางไปทางด้านไกลกลาง การศึกษานี้พบว่าตำแหน่งที่ปลอดภัยที่สุดคือบริเวณกึ่งกลางระหว่างรากด้านแก้ม-ใกล้กลางและรากด้านแก้ม-ไกลกลางที่ระดับ 6 ถึง 9.6 มิลลิเมตรจากรอยต่อเคลือบฟันกับเคลือบรากฟัน อย่างไรก็ตามที่ตำแหน่งอื่น ๆ สามารถใช้ได้อย่างระมัดระวัง นอกจากนี้การวางหมุดฝังเกลียวขนาดเล็กทางด้านที่มีรอยแยกมีแนวโน้มที่จะปลอดภัยกว่าด้านไม่มีรอยแยก 2019-12-03T08:56:55Z 2019-12-03T08:56:55Z 2562 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 40,2 (พ.ค.-ส.ค. 2562) 29-37 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2562_40_2_511.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67002 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
กระดูกด้านแก้ม สันกระดูกโหนกแก้มส่วนใต้ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี |
spellingShingle |
กระดูกด้านแก้ม สันกระดูกโหนกแก้มส่วนใต้ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ โคนบีมคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี ชนชล ไตรรัตนประดิษฐ์ มารศรี ชัยวรวิทย์กุล ความหนาของกระดูกด้านแก้มบริเวณสันกระดูกโหนกแก้มส่วนใต้ในผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ไทยที่มีการเจริญเติบโตอยู่ |
description |
เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม |
author |
ชนชล ไตรรัตนประดิษฐ์ มารศรี ชัยวรวิทย์กุล |
author_facet |
ชนชล ไตรรัตนประดิษฐ์ มารศรี ชัยวรวิทย์กุล |
author_sort |
ชนชล ไตรรัตนประดิษฐ์ |
title |
ความหนาของกระดูกด้านแก้มบริเวณสันกระดูกโหนกแก้มส่วนใต้ในผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ไทยที่มีการเจริญเติบโตอยู่ |
title_short |
ความหนาของกระดูกด้านแก้มบริเวณสันกระดูกโหนกแก้มส่วนใต้ในผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ไทยที่มีการเจริญเติบโตอยู่ |
title_full |
ความหนาของกระดูกด้านแก้มบริเวณสันกระดูกโหนกแก้มส่วนใต้ในผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ไทยที่มีการเจริญเติบโตอยู่ |
title_fullStr |
ความหนาของกระดูกด้านแก้มบริเวณสันกระดูกโหนกแก้มส่วนใต้ในผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ไทยที่มีการเจริญเติบโตอยู่ |
title_full_unstemmed |
ความหนาของกระดูกด้านแก้มบริเวณสันกระดูกโหนกแก้มส่วนใต้ในผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ไทยที่มีการเจริญเติบโตอยู่ |
title_sort |
ความหนาของกระดูกด้านแก้มบริเวณสันกระดูกโหนกแก้มส่วนใต้ในผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ไทยที่มีการเจริญเติบโตอยู่ |
publisher |
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2019 |
url |
http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2562_40_2_511.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67002 |
_version_ |
1681426553694584832 |