ผลของวิธีการเตรียมผิวต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของการซ่อมวัสดุอุดเรซินคอมโพสิตที่มีสภาวะความเสื่อม

เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ณีรนุช กิตติวินิชนันท์, สิทธิกร คุณวโรตม์
Language:Tha
Published: คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2562_40_2_522.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67010
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67010
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-670102019-12-03T08:56:56Z ผลของวิธีการเตรียมผิวต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของการซ่อมวัสดุอุดเรซินคอมโพสิตที่มีสภาวะความเสื่อม Effect of Surface Treatment Methods on Microtensile Bond Strength of Aged Resin Composite Repair ณีรนุช กิตติวินิชนันท์ สิทธิกร คุณวโรตม์ เรซินคอมโพสิต สารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์โคเจ็ท สารคู่ควบไซเลน กรดไฮโดรฟลูออริก เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการเตรียมผิวเรซินคอมโพสิตด้วยขั้นตอนการเตรียมผิวทางกล และ/หรือทางเคมีต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของการซ่อมแซมเรซินคอมโพสิตที่มีสภาวะความเสื่อม วิธีการวิจัย: เตรียมชิ้นทดสอบเรซินคอมโพสิต เคลียร์ฟิลเอพีเอ็กซ์อีเอสทูสีA1 รูปครึ่งนาฬิกาทราย จำนวน48 ชิ้น โดยมีพื้นที่ผิวในตำแหน่งส่วนคอดขนาด 1.5x8.0 มิลลิเมตร จากแบบหล่อโลหะแยกส่วน แบ่งชิ้นทดสอบออกเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 8 ชิ้น กลุ่มที่ 1 เก็บในน้ำกลั่นอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง กลุ่มที่ 2-6 นำไปผ่านการจำลองการเสื่อมสภาพด้วยเครื่องเทอร์โมไซคลิงจำนวน 15,000 รอบ แล้วนำไปเก็บในน้ำกลั่นที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นระยะเวลา 6 เดือน โดยเปลี่ยนน้ำกลั่นทุก 1 สัปดาห์จากนั้นชิ้นทดสอบทั้งหมดจะได้รับการเตรียมผิวด้วยวิธีต่างๆกัน ได้แก่กลุ่มที่1 (-SE) และกลุ่มที่2 (+SE) เตรียมผิวด้วยเคลียร์ฟิลเอสอีบอนด์เป็นกลุ่มควบคุมผลลบและบวก ตามลำดับ กลุ่มที่ 3 (+CoSE) โคเจ็ท และเคลียร์ฟิลเอสอีบอนด์กลุ่มที่ 4 (+CoSiB) โคเจ็ท ตามด้วยสารคู่ควบไซเลนซึ่งเตรียมขึ้นจากเคลียร์ฟิล พอร์ซเลนบอนด์ แอกทิเวเทอร์ผสมกับสารไพรเมอร์ของเคลียร์ฟิลเอสอีบอนด์ในอัตราส่วน 1:1 ทาเป็นเวลา60 วินาทีและสารบอนด์ดิง กลุ่มที่ 5 (+HFSE) กรดไฮโดรฟลูออริก ร้อยละ 9.5 60 วินาทีและเคลียร์ฟิลเอสอีบอนด์และกลุ่มที่ 6 (+HFSiB)กรดไฮโดรฟลูออริก ร้อยละ 9.5 60 วินาทีตามด้วยสารคู่ควบไซเลน และสารบอนด์ดิง จากนั้นทำการอุดซ่อมด้วยเรซินคอมโพสิต เคลียร์ฟิลเอพีเอ็กซ์อีเอสทู สี A4 โดยใช้แบบหล่อโลหะแยกส่วน ได้ชิ้นทดสอบรูปนาฬิกาทราย เก็บชิ้นทดสอบในน้ำกลั่นที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 24 ชั่วโมง และทำการตัดอีกครั้งเพื่อให้ได้พื้นที่ยึดติดขนาด 1.5x0.7 มิลลิเมตร จ านวน 5 ชิ้นต่อชิ้นทดสอบ ทำการทดสอบค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคด้วยเครื่องทดสอบวัสดุสากล ความเร็วของหัวกด 1 มม./นาที ทำการวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวและเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่มด้วยการเปรียบเทียบเชิงซ้อนแบบดันเนตที 3 ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 (p<0.05) ตรวจสอบลักษณะพื้นผิวเรซินคอมโพสิตที่ได้รับการเตรียมผิวด้วยวิธีต่างๆ และลักษณะรอยต่อระหว่างเรซินคอมโพสิตด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด ผลการศึกษา: วิธีการเตรียมผิวและสภาวะความเสื่อมของเรซินคอมโพสิตส่งผลต่อค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคอย่างมีนัยสำคัญ การซ่อมเรซินคอมโพสิตอายุ24 ชั่วโมงให้ค่าสูงที่สุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในขณะที่กลุ่มเรซินคอมโพสิตที่มีสภาวะความเสื่อมให้ค่าต่ำกว่า โดยพบว่ากลุ่ม +CoSiB และ +HFSE ให้ค่าสูงกว่าการเตรียมผิวด้วยวิธีอื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติส่วนกลุ่ม +CoSE มีค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคต่ำที่สุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุปผลการศึกษา: การเตรียมผิวด้วยวิธีกรดไฮโดรฟลูออริก ร้อยละ 9.5 เป็นเวลา 60 วินาทีร่วมกับเคลียร์ฟิลเอสอีบอนด์ และวิธีโคเจ็ทร่วมกับสารคู่ควบไซเลนและสารบอนด์ดิง ให้ค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคในการซ่อมเรซินคอม-โพสิตที่มีสภาวะความเสื่อมสูงกว่าวิธีอื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2019-12-03T08:56:56Z 2019-12-03T08:56:56Z 2562 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 40,2 (พ.ค.-ส.ค. 2562) 65-80 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2562_40_2_522.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67010 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic เรซินคอมโพสิต
สารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์โคเจ็ท
สารคู่ควบไซเลน
กรดไฮโดรฟลูออริก
spellingShingle เรซินคอมโพสิต
สารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์โคเจ็ท
สารคู่ควบไซเลน
กรดไฮโดรฟลูออริก
ณีรนุช กิตติวินิชนันท์
สิทธิกร คุณวโรตม์
ผลของวิธีการเตรียมผิวต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของการซ่อมวัสดุอุดเรซินคอมโพสิตที่มีสภาวะความเสื่อม
description เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม
author ณีรนุช กิตติวินิชนันท์
สิทธิกร คุณวโรตม์
author_facet ณีรนุช กิตติวินิชนันท์
สิทธิกร คุณวโรตม์
author_sort ณีรนุช กิตติวินิชนันท์
title ผลของวิธีการเตรียมผิวต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของการซ่อมวัสดุอุดเรซินคอมโพสิตที่มีสภาวะความเสื่อม
title_short ผลของวิธีการเตรียมผิวต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของการซ่อมวัสดุอุดเรซินคอมโพสิตที่มีสภาวะความเสื่อม
title_full ผลของวิธีการเตรียมผิวต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของการซ่อมวัสดุอุดเรซินคอมโพสิตที่มีสภาวะความเสื่อม
title_fullStr ผลของวิธีการเตรียมผิวต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของการซ่อมวัสดุอุดเรซินคอมโพสิตที่มีสภาวะความเสื่อม
title_full_unstemmed ผลของวิธีการเตรียมผิวต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของการซ่อมวัสดุอุดเรซินคอมโพสิตที่มีสภาวะความเสื่อม
title_sort ผลของวิธีการเตรียมผิวต่อค่าความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคของการซ่อมวัสดุอุดเรซินคอมโพสิตที่มีสภาวะความเสื่อม
publisher คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2562_40_2_522.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67010
_version_ 1681426555186708480