การให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่คนไทยพลัดถิ่น ผ่านความร่วมมือพหุภาคีระหว่างภาครัฐ องค์กรวิชาการและภาคประชาสังคม : กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดระนองและประจวบคีรีขันธ์

วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นวารสารวิชาการทางกฎหมายซึ่งตีพิมพ์บทความวิชาการและบทความวิจัยจากบุคคลทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย จัดพิมพ์ราย 6 เดือน ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 เดือน กรกฏาคม – ธันวาคม...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: เสาวณีย์ แก้วจุลกาญจน์, วิศรุต สำลีอ่อน
Language:Tha
Published: วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/72963/58689
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67057
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67057
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-670572019-12-03T09:01:06Z การให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่คนไทยพลัดถิ่น ผ่านความร่วมมือพหุภาคีระหว่างภาครัฐ องค์กรวิชาการและภาคประชาสังคม : กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดระนองและประจวบคีรีขันธ์ Lagal Aid for Thai Displaced People throgh Multilateral Cooperation Between State Organs, Academic Institutes and Civil Societies: study on Ranong and Prachuap Khiri Khan Provinces เสาวณีย์ แก้วจุลกาญจน์ วิศรุต สำลีอ่อน คนไทยพลัดถิ่น กระบวนการพิสูจน์สัญชาติ พระราชบัญญัติสัญชาติ วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นวารสารวิชาการทางกฎหมายซึ่งตีพิมพ์บทความวิชาการและบทความวิจัยจากบุคคลทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย จัดพิมพ์ราย 6 เดือน ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 เดือน กรกฏาคม – ธันวาคม ภายหลังจากพระราชบัญญัติสัญชาติ(ฉบับที่ 5) พ.ศ.2555 มีผลใช้บังคับ อาจกล่าวได้ว่าเหตุการณ์ดังกล่าวถือได้ว่าเป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญต่อกลุ่มประชากรกลุ่มคนไทยพลัดถิ่นได้ เนื่องจากได้มีการวางหลักการพิสูจน์และคืนสัญชาติไทยให้คนไทยพลัดถิ่นแต่อย่างไรก็ตามอาจกล่าวได้ว่าการบังคับใช้พระราชบัญญัติดังกล่าวยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากปัญหาการขาดความเป็นเอกภาพในตัวเอกสารพิสูจน์ตัวบุคคล ( ป.ค. 14) และภาครัฐประสบปัญหาการขาดแคลนบุคลากร ประกอบกับเจตคติในเรื่องความมั่นคงของหน่วยงานภาครัฐต่อกลุ่มประชากรคนไทยพลัดถิ่นซึ่งจากปัญหาดังกล่าวเอง นำไปสู่การจัดทำบันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านการพิสูจน์สัญชาติและรับรองความเป็นคนไทยพลัดถิ่นระหว่างกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยกับมหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยรังสิต สำนักงานประสานการพัฒนาสังคมสุขภาวะ (สปพส.) มูลนิธิชุมชนไท (มชท.) และสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (สำนักงาน กสม.) ลงวันที่ 16มกราคม 2559 จากบันทึกข้อตกลงดังกล่าวก่อให้เกิดโครงการ“การช่วยเหลือประชาชนผู้ด้อยโอกาสทีมีปัญหาเกี่ยวกับสถานะบุคคล (คนไทยพลัดถิ่น)” โดยคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ รับผิดชอบในการช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกให้กับเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองในการยื่นคำร้องและการรวบรวมพยานหลักฐานเรื่องการพิสูจน์สัญชาติแก่กลุ่มคนไทยพลัดถิ่นในพื้นที่จังหวัดระนองขณะที่พื้นที่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยรังสิตคือพื้นที่ในบริเวณจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ผลการลงนามผ่านความร่วมมือดังกล่าวแม้ว่าจะก่อให้เกิดปัญหาในทางปฏิบัติหลายประการไม่ว่าจะเป็นปัญหาเรื่อง 1) ปัญหาด้านแบบฟอร์มเรื่องการพิสูจน์และรับรองความเป็นคนไทยพลัดถิ่นที่ไม่มีเอกภาพ 2) ปัญหาความต่อเนื่องของบุคลากรในการปฏิบัติหน้าที่ประจำท้องที่ 3) ปัญหาเรื่องทัศนคติของเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่ต่อนิสิตนักศึกษาที่เข้าไปช่วยเหลืองาน แต่อย่างไรก็ดีการลงนามในบันทึกข้อตกลงดังกล่าวก่อให้เกิดผลดีหลายประการ เช่น ก่อให้เกิดการทำงานที่ประสานกันระหว่างภาคีเครือข่ายส่งผลให้การแก้ปัญหาพิสูจน์และรับรองสัญชาติคนไทยพลัดถิ่นมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นก่อให้เกิดการลดภาระการทำงานของเจ้าหน้าที่ นอกจากนี้ก่อให้เกิดกระบวนการสร้างจิตอาสาให้กับนิสิตและนักศึกษาในการเข้าใจและเห็นอกเห็นใจในเพื่อนมนุษย์มากขึ้น 2019-12-03T09:01:06Z 2019-12-03T09:01:06Z 2559 วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 9,2 (ก.ค.-ธ.ย.2560) 104-135 0125-4138 https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/72963/58689 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67057 Tha วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic คนไทยพลัดถิ่น
กระบวนการพิสูจน์สัญชาติ
พระราชบัญญัติสัญชาติ
spellingShingle คนไทยพลัดถิ่น
กระบวนการพิสูจน์สัญชาติ
พระราชบัญญัติสัญชาติ
เสาวณีย์ แก้วจุลกาญจน์
วิศรุต สำลีอ่อน
การให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่คนไทยพลัดถิ่น ผ่านความร่วมมือพหุภาคีระหว่างภาครัฐ องค์กรวิชาการและภาคประชาสังคม : กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดระนองและประจวบคีรีขันธ์
description วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นวารสารวิชาการทางกฎหมายซึ่งตีพิมพ์บทความวิชาการและบทความวิจัยจากบุคคลทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย จัดพิมพ์ราย 6 เดือน ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 เดือน กรกฏาคม – ธันวาคม
author เสาวณีย์ แก้วจุลกาญจน์
วิศรุต สำลีอ่อน
author_facet เสาวณีย์ แก้วจุลกาญจน์
วิศรุต สำลีอ่อน
author_sort เสาวณีย์ แก้วจุลกาญจน์
title การให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่คนไทยพลัดถิ่น ผ่านความร่วมมือพหุภาคีระหว่างภาครัฐ องค์กรวิชาการและภาคประชาสังคม : กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดระนองและประจวบคีรีขันธ์
title_short การให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่คนไทยพลัดถิ่น ผ่านความร่วมมือพหุภาคีระหว่างภาครัฐ องค์กรวิชาการและภาคประชาสังคม : กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดระนองและประจวบคีรีขันธ์
title_full การให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่คนไทยพลัดถิ่น ผ่านความร่วมมือพหุภาคีระหว่างภาครัฐ องค์กรวิชาการและภาคประชาสังคม : กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดระนองและประจวบคีรีขันธ์
title_fullStr การให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่คนไทยพลัดถิ่น ผ่านความร่วมมือพหุภาคีระหว่างภาครัฐ องค์กรวิชาการและภาคประชาสังคม : กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดระนองและประจวบคีรีขันธ์
title_full_unstemmed การให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่คนไทยพลัดถิ่น ผ่านความร่วมมือพหุภาคีระหว่างภาครัฐ องค์กรวิชาการและภาคประชาสังคม : กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดระนองและประจวบคีรีขันธ์
title_sort การให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่คนไทยพลัดถิ่น ผ่านความร่วมมือพหุภาคีระหว่างภาครัฐ องค์กรวิชาการและภาคประชาสังคม : กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดระนองและประจวบคีรีขันธ์
publisher วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/72963/58689
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67057
_version_ 1681426563890937856