หลังข้ามเส้นพรมแดนสถานะตามกฎหมายของคนย้ายถิ่น (กรณีชนกลุ่มน้อย)
วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นวารสารวิชาการทางกฎหมายซึ่งตีพิมพ์บทความวิชาการและบทความวิจัยจากบุคคลทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย จัดพิมพ์ราย 6 เดือน ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 เดือน กรกฏาคม – ธันวาคม...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/72960/58686 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67058 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-67058 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-670582019-12-03T09:01:06Z หลังข้ามเส้นพรมแดนสถานะตามกฎหมายของคนย้ายถิ่น (กรณีชนกลุ่มน้อย) After Border Crossing: Legal Status of Ethnic Migrants in Thailand ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล คนอพยพย้ายถิ่น ชนกลุ่มน้อย การพัฒนาสิทธิในสถานะบุคคล คนไร้รัฐไร้สัญชาติ วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นวารสารวิชาการทางกฎหมายซึ่งตีพิมพ์บทความวิชาการและบทความวิจัยจากบุคคลทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย จัดพิมพ์ราย 6 เดือน ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 เดือน กรกฏาคม – ธันวาคม ภายหลังก้าวข้ามเส้นพรมแดน สถานะบุคคลตามกฎหมาย คนอพยพย้ายถิ่นด้วยเหตุผลหนีภัยการสู้รบในประเทศต้นทางหรือด้วยเหตุอื่นๆ เริ่มต้นด้วย “คนเข้าเมืองผิดกฎหมาย” ในเวลาเดียวกันภายใต้นโยบาย “จด-นับ” ของรัฐไทย ผู้อพยพย้ายถิ่นกลุ่มนี้ถูกจำแนกและนิยามให้เป็น “ชนกลุ่มน้อย” กลุ่มต่างๆ ผ่านเอกสารแสดงตนที่มีสีแตกต่างกันมากกว่า 17 กลุ่ม (ปัจจุบันถูกยุบรวมเป็นบัตรสีเดียวกันหมดแล้ว) และเลขประจำตัวสิบสามหลัก สถานะคนกลุ่มนี้ไม่ได้ถูกแช่แข็งอยู่กับการเป็นคนต่างด้าวเข้าเมืองผิดกฎหมาย ทว่าสามารถปรับเปลี่ยนได้ หากรัฐไทยเห็นว่าบุคคลดังกล่าวน่าจะผ่านช่วงเวลาแห่งการผสมกลมกลืนกับสังคมไทยแล้ว ก็จะ “ให้” สถานะใหม่หรือเปิดโอกาสให้คนที่อพยพเข้ามา และเจเนอเรชั่นที่สองที่เกิดในไทย เริ่มต้นเข้าสู่กระบวนการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นสมาชิกในสังคมไทย กระบวนการเปลี่ยนผ่านดังกล่าวดูเหมือนจะมี “แบบแผน”ของทางปฏิบัติ แต่ขาดความเป็นระบบ ทำให้เกิดกรณี “คน ‘ตกหล่น’” กระบวนการเปลี่ยนผ่านสถานะบุคคล เนื้อหาในบทความนี้เป็นการเลือกหยิบเนื้อหาบางส่วนจากโครงการพัฒนาองค์ความรู้เพื่อการพิสูจน์และพัฒนาสิทธิในสุขภาวะของผู้มีปัญหาสถานะบุคคล โดยกระบวนการมีส่วนร่วม ซึ่งดำเนินงานวิจัยผ่านงานให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายเพื่อสนับสนุนการพัฒนาสิทธิด้านต่างๆ ของผู้มีปัญหาสถานะบุคคล (มีคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติรวมอยู่ด้วย) ใน 3 พื้นที่ คืออ.อุ้มผาง จ.ตาก อ.เมืองระนอง จ.ระนอง และ ต.เสาหินและ ต.แม่คง อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน ภายใต้ระยะเวลาการดำเนินงานพบว่ามี 65 กรณีศึกษาที่สะท้อนถึงปัญหาและข้อจำกัดของการเข้าถึงและพัฒนาสิทธิด้านต่างๆ ของผู้มีปัญหาสถานะบุคคล และงานพัฒนาองค์ความรู้เพื่อการขับเคลื่อนนโยบายด้านสิทธิในสุขภาวะของผู้มีปัญหาสถานะบุคคล ซึ่งเป็นการพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายผ่านรูปแบบคณะทำงานที่ประกอบไปด้วยภาควิชาการ นักวิชาการในหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง อาทิ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ฯลฯ เพื่อเสนอข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาสิทธิในสถานะบุคคลของกลุ่มชาติพันธุ์ดั้งเดิม ผู้อพยพรุ่นที่หนึ่งและรุ่นที่สอง (กรณีชนกลุ่มน้อย) คนไร้เอกสารพิสูจน์ทราบตัวบุคคลที่ปรากฏตัวในประเทศไทย และกลุ่มคนไทยพลัดถิ่น ทั้งสองโครงการนี้ เป็นส่วนหนึ่งของชุดโครงการพัฒนาองค์ความรู้และขับเคลื่อนข้อเสนอแนะที่เอื้อต่อการพิสูจน์และพัฒนาสิทธิในสถานะบุคคลเพื่อสุขภาวะของผู้มีปัญหาสถานะบุคคล (1 ตุลาคม 2557-31 มีนาคม 2559) ดำเนินการโดยโครงการเฝ้าระวังสภาวะไร้รัฐ โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ (สสส.) สำนัก 9 บทความนี้ประกอบไปด้วยประเด็นต่างๆ ตั้งแต่การสะท้อนถึงความเข้าใจต่อสถานะบุคคลตามกฎหมายของผู้อพยพย้ายถิ่น กลุ่มชนกลุ่มน้อยและลูกหลานที่เกิดในประเทศไทยด้วยสายตาของพวกเขาเอง แบบแผนของทางปฏิบัติในการเปลี่ยนผ่านจากสถานะคนเข้าเมืองผิดกฎหมายของผู้อพยพย้ายถิ่นไปสู่การเข้าถึงสิทธิด้านต่างๆ ที่สำคัญการเข้าเป็นสมาชิกของสังคมไทย “คนตกหล่น” กระบวนการเปลี่ยนผ่านสถานะฯ และข้อเสนอแนะเบื้องต้น 2019-12-03T09:01:06Z 2019-12-03T09:01:06Z 2559 วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 9,2 (ก.ค.-ธ.ย.2560) 170-205 0125-4138 https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/72960/58686 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67058 Tha วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
คนอพยพย้ายถิ่น ชนกลุ่มน้อย การพัฒนาสิทธิในสถานะบุคคล คนไร้รัฐไร้สัญชาติ |
spellingShingle |
คนอพยพย้ายถิ่น ชนกลุ่มน้อย การพัฒนาสิทธิในสถานะบุคคล คนไร้รัฐไร้สัญชาติ ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล หลังข้ามเส้นพรมแดนสถานะตามกฎหมายของคนย้ายถิ่น (กรณีชนกลุ่มน้อย) |
description |
วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นวารสารวิชาการทางกฎหมายซึ่งตีพิมพ์บทความวิชาการและบทความวิจัยจากบุคคลทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย จัดพิมพ์ราย 6 เดือน ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 เดือน กรกฏาคม – ธันวาคม |
author |
ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล |
author_facet |
ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล |
author_sort |
ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล |
title |
หลังข้ามเส้นพรมแดนสถานะตามกฎหมายของคนย้ายถิ่น (กรณีชนกลุ่มน้อย) |
title_short |
หลังข้ามเส้นพรมแดนสถานะตามกฎหมายของคนย้ายถิ่น (กรณีชนกลุ่มน้อย) |
title_full |
หลังข้ามเส้นพรมแดนสถานะตามกฎหมายของคนย้ายถิ่น (กรณีชนกลุ่มน้อย) |
title_fullStr |
หลังข้ามเส้นพรมแดนสถานะตามกฎหมายของคนย้ายถิ่น (กรณีชนกลุ่มน้อย) |
title_full_unstemmed |
หลังข้ามเส้นพรมแดนสถานะตามกฎหมายของคนย้ายถิ่น (กรณีชนกลุ่มน้อย) |
title_sort |
หลังข้ามเส้นพรมแดนสถานะตามกฎหมายของคนย้ายถิ่น (กรณีชนกลุ่มน้อย) |
publisher |
วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2019 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/72960/58686 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67058 |
_version_ |
1681426564068147200 |