หนี้นอกระบบ: ปัญหาและแนวทางแก้ไขภายใต้แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ปิยะลักษณ์ พุทธวงศ์, ศศิเพ็ญ พวงสายใจ, ไพรัช กาญจนการุณ, วรลักษณ์ หิมะกลัส, สุชาติ พรหมขัติแก้ว, สุขุมพันธุ์ ณรงค์, พิมลพรรณ บุญยะเสนา
Language:Tha
Published: คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2019
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/72648/58434
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67078
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67078
record_format dspace
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic หนี้นอกระบบ
สมดุลภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
spellingShingle หนี้นอกระบบ
สมดุลภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปิยะลักษณ์ พุทธวงศ์
ศศิเพ็ญ พวงสายใจ
ไพรัช กาญจนการุณ
วรลักษณ์ หิมะกลัส
สุชาติ พรหมขัติแก้ว
สุขุมพันธุ์ ณรงค์
พิมลพรรณ บุญยะเสนา
หนี้นอกระบบ: ปัญหาและแนวทางแก้ไขภายใต้แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
description วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการ
author ปิยะลักษณ์ พุทธวงศ์
ศศิเพ็ญ พวงสายใจ
ไพรัช กาญจนการุณ
วรลักษณ์ หิมะกลัส
สุชาติ พรหมขัติแก้ว
สุขุมพันธุ์ ณรงค์
พิมลพรรณ บุญยะเสนา
author_facet ปิยะลักษณ์ พุทธวงศ์
ศศิเพ็ญ พวงสายใจ
ไพรัช กาญจนการุณ
วรลักษณ์ หิมะกลัส
สุชาติ พรหมขัติแก้ว
สุขุมพันธุ์ ณรงค์
พิมลพรรณ บุญยะเสนา
author_sort ปิยะลักษณ์ พุทธวงศ์
title หนี้นอกระบบ: ปัญหาและแนวทางแก้ไขภายใต้แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
title_short หนี้นอกระบบ: ปัญหาและแนวทางแก้ไขภายใต้แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
title_full หนี้นอกระบบ: ปัญหาและแนวทางแก้ไขภายใต้แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
title_fullStr หนี้นอกระบบ: ปัญหาและแนวทางแก้ไขภายใต้แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
title_full_unstemmed หนี้นอกระบบ: ปัญหาและแนวทางแก้ไขภายใต้แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
title_sort หนี้นอกระบบ: ปัญหาและแนวทางแก้ไขภายใต้แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
publisher คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2019
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/72648/58434
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67078
_version_ 1681426567815757824
spelling th-cmuir.6653943832-670782019-12-03T09:01:07Z หนี้นอกระบบ: ปัญหาและแนวทางแก้ไขภายใต้แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Informal Debt: Problems and Policy Implication Under Sufficiency Economy ปิยะลักษณ์ พุทธวงศ์ ศศิเพ็ญ พวงสายใจ ไพรัช กาญจนการุณ วรลักษณ์ หิมะกลัส สุชาติ พรหมขัติแก้ว สุขุมพันธุ์ ณรงค์ พิมลพรรณ บุญยะเสนา หนี้นอกระบบ สมดุลภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการ ปัญหาหนี้นอกระบบเป็นหนึ่งในปัญหาที่ประชาชนคนไทย โดยเฉพาะผู้มีรายได้น้อยประสบ รัฐบาลจึงได้มีนโยบายต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สินเพื่อบรรเทาความเดือนร้อนของประชาชน งานวิจัยนี้ศึกษาปัญหาการเป็นหนี้นอกระบบของประชาชน และสร้างแนวทางแก้ไขโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ข้อมูลจากแบบสอบถามจากประชาชนที่อาศัยในภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ รวมทั้งสิ้น 1,801 ตัวอย่าง และใช้กรณีศึกษาที่มีกาปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best practice) รวมถึงการประชุมเสวนากับหน่วยงานภาครัฐและผู้นำชุมชน เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มตัวอย่างประชาชนที่เป็นหนี้นอกระบบส่วนใหญ่ประกอบอาชีพที่มีรายได้ไม่แน่นอน สาเหตุที่ทำให้เป็นหนี้นอกระบบ คือ ต้องการเงินลงทุน นำไปใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน และนำไปใช้หนี้เดิม ผู้ที่เป็นหนี้นอกระบบส่วนใหญ่กู้จากนายทุนเงินกู้เนื่องจากไม่สามารถกู้ยืมเงินในระบบได้ และมากกว่าร้อยละ 75 ต้องชำระดอกเบี้ยในอัตราที่สูงกว่าร้อยละ 30 ต่อปี เมื่อวิเคราะห์พฤติกรรมการดำเนินชีวิตของผู้ที่เป็นหนี้นอกระบบอาศัยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพบว่า ด้านความพอประมาณ กลุ่มตัวอย่างมีการใช้จ่ายที่ฟุ่มเฟือย ทั้งที่มีรายได้น้อย รายจ่ายที่ไม่จำเป็นยังคงเป็นสัดส่วนที่สูง ด้านความมีเหตุผล พบว่ามีการกู้ยืมเงินที่ไม่เหมาะสม เช่น เลือกกู้ยืมจากแหล่งเงินกู้นอกระบบซึ่งจัดเป็นแหล่งเงินกู้ระยะสั้น แต่นำเงินไปลงทุนซึ่งให้ผลตอบแทนในระยะยาว ด้านการมีภูมิคุ้มกัน พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีภูมิคุ้มกันทางเศรษฐกิจต่ำ เนื่องจากมีรายได้น้อย และไม่แน่นอน มีเงินออมต่ำหรือไม่มีเลย ไม่มีแหล่งพึ่งพิงทางการเงินที่น่าเชื่อถือหรือมีการรวมกลุ่มเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ด้านการมีความรู้ในการดำเนินชีวิตหรือประกอบอาชีพยังคงใช้ภูมิปัญญาดั้งเดิมเป็นหลัก ใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตหรือคุณภาพงานน้อย นอกจากนี้ ยังไม่มีเวลาในการแสวงหาความรู้ หรือเข้ารับการอบรม และด้านการมีคุณธรรม พบว่า คนกลุ่มนี้ไม่มีวินัยทางการเงิน และขาดการวางแผนการใช้เงินที่ดีให้ถูกต้องเหมาะสมแบบจำลองการแก้ปัญหาหนี้นอกระบบ IDL – Model ได้เน้นไปที่มาตรการการแก้ปัญหาหนี้นอกระบบ โดยมีหลักการที่จะทำให้การมีหนี้สินนอกระบบให้กลายเป็นหนี้ในระบบ และมาตรการป้องกันโดยมีหลักการที่จะไม่ทำให้เกิดหนี้ โดยจะเป็นแบบจำลองใน 3 ภาคส่วนคือ ภาคประชาชน ภาคชุมชน และภาครัฐบาลแบบจำลองการแก้ปัญหาหนี้นอกระบบ IDL – Model ในส่วนของภาคประชาชน ควรป้องกันการก่อหนี้โดยต้องส่งเสริมให้ประชาชนในทุกกลุ่มอายุมีการเรียนรู้วินัยทางการเงิน มีการวางแผนทางการเงิน จัดทำบัญชีรับ-จ่าย บัญชีครัวเรือน และต้องส่งเสริมให้เกิดความสามารถในการวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้จ่ายเป็น แบบจำลองการแก้ปัญหาหนี้นอกระบบ IDL – Model ในส่วนภาคชุมชนนั้น มาตรการการป้องกันคือ การร่วมกันจัดตั้งแหล่งทุนหรือกองทุนของชุมชนเพื่อช่วยเหลือคนในชุมชนด้านการเงินยามฉุกเฉิน หรือจัดให้มีสวัสดิการในการดำรงชีพสำหรับคนในชุมชน พร้อมทั้งส่งเสริมการทำงานและการรวมกลุ่มอาชีพเดียวกันเพื่อเพิ่มความสามารถในการต่อรอง แบบจำลองการแก้ปัญหาหนี้นอกระบบ IDL – Model ในส่วนภาครัฐ จะเน้นไปที่มาตรการการแก้ปัญหา และ มาตรการการป้องกัน โดยที่มาตรการการแก้ปัญหานั้นจะเป็นการที่จะแก้ปัญหาให้กับผู้มีหนี้นอกระบบให้ปรับเปลี่ยนหนี้นอกระบบให้กลายเป็นหนี้ในระบบโดยการที่จะดึงชุมชนเข้ามาร่วมกันช่วยแก้ปัญหาในรูปแบบของการตั้งกลุ่มการเงินขึ้นมาร่วมกันบริหารจัดการโดยการวิเคราะห์สภาพหนี้สินของคนในชุมชน เสาะหาแหล่งการเงินเพื่อนำเงินมาให้ผู้มีหนี้สินนอกระบบกู้ยืมไปชดใช้หนี้นอกระบบหรือก็คือการแปลงสภาพหนี้นอกระบบให้กลายเป็นหนี้ในระบบของกลุ่มการเงินที่ตั้งขึ้น จากนั้นจะเป็นการพัฒนาอาชีพให้กับผู้มีหนี้สินเพื่อให้มีรายได้เพิ่มขึ้น ส่วนมาตรการการป้องกันปัญหาหนี้นอกระบบจะเป็นการปลูกฝั่งแนวคิดตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้กับเด็กๆเพื่อจะไม่ทำให้เกิดปัญหาหนี้ในอนาคต 2019-12-03T09:01:07Z 2019-12-03T09:01:07Z 2559 วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 20, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2562), 79-101 0859-8479 https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/72648/58434 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67078 Tha คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่