การพัฒนาและทดสอบแบบประเมินพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุสำหรับผู้ปกครองของเด็กอายุ 2-5 ปี

เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อังค์วรา อินทรสมพันธ์, ปิยะนารถ จาติเกตุ, อุบลวรรณ ธีระพิบูลย์
Language:Tha
Published: คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2559_37_2_422.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67124
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67124
record_format dspace
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ
ดัชนีคราบจุลินทรีย์ของเด็ก
เด็กก่อนวัยเรียน
ผู้ปกครอง
spellingShingle ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ
ดัชนีคราบจุลินทรีย์ของเด็ก
เด็กก่อนวัยเรียน
ผู้ปกครอง
อังค์วรา อินทรสมพันธ์
ปิยะนารถ จาติเกตุ
อุบลวรรณ ธีระพิบูลย์
การพัฒนาและทดสอบแบบประเมินพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุสำหรับผู้ปกครองของเด็กอายุ 2-5 ปี
description เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม
author อังค์วรา อินทรสมพันธ์
ปิยะนารถ จาติเกตุ
อุบลวรรณ ธีระพิบูลย์
author_facet อังค์วรา อินทรสมพันธ์
ปิยะนารถ จาติเกตุ
อุบลวรรณ ธีระพิบูลย์
author_sort อังค์วรา อินทรสมพันธ์
title การพัฒนาและทดสอบแบบประเมินพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุสำหรับผู้ปกครองของเด็กอายุ 2-5 ปี
title_short การพัฒนาและทดสอบแบบประเมินพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุสำหรับผู้ปกครองของเด็กอายุ 2-5 ปี
title_full การพัฒนาและทดสอบแบบประเมินพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุสำหรับผู้ปกครองของเด็กอายุ 2-5 ปี
title_fullStr การพัฒนาและทดสอบแบบประเมินพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุสำหรับผู้ปกครองของเด็กอายุ 2-5 ปี
title_full_unstemmed การพัฒนาและทดสอบแบบประเมินพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุสำหรับผู้ปกครองของเด็กอายุ 2-5 ปี
title_sort การพัฒนาและทดสอบแบบประเมินพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุสำหรับผู้ปกครองของเด็กอายุ 2-5 ปี
publisher คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2559_37_2_422.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67124
_version_ 1681426576419323904
spelling th-cmuir.6653943832-671242020-04-02T14:32:27Z การพัฒนาและทดสอบแบบประเมินพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุสำหรับผู้ปกครองของเด็กอายุ 2-5 ปี Development and testing of a caries risk behavior assessment form for parents of 2-5-year-old children อังค์วรา อินทรสมพันธ์ ปิยะนารถ จาติเกตุ อุบลวรรณ ธีระพิบูลย์ ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ ดัชนีคราบจุลินทรีย์ของเด็ก เด็กก่อนวัยเรียน ผู้ปกครอง เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาและทดสอบประสิทธิภาพแบบประเมินพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุสำหรับผู้ปกครองของเด็กอายุ 2-5 ปี วัสดุและวิธีการ: การศึกษานี้แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน ขั้นตอนแรกเป็นขั้นตอนการพัฒนาแบบประเมินพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุสำหรับผู้ปกครองของเด็กอายุ 2-5 ปีจากการทบทวนวรรณกรรม และวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ด้วยตัวผู้ปกครองเอง ขั้นตอนที่ 2 ทดสอบประสิทธิภาพของแบบประเมินที่พัฒนาขึ้นโดยการเปรียบเทียบพฤติกรรมเสี่ยงต่อ การเกิดโรคฟันผุระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มทดลองคือ กลุ่มผู้ปกครองของเด็กอายุ 2-5 ปี ที่พาเด็กมารับการรักษาที่คลินิกทันตกรรมสำหรับเด็ก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 31 คู่ ซึ่งผู้ปกครองจะเป็นผู้ประเมินโดยตนเองด้วยแบบประเมินที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น กลุ่มควบคุม คือ กลุ่มผู้ปกครองของเด็กอายุ 2-5 ปี ที่พาเด็กมารับการรักษาที่คลินิกทันตกรรมสำหรับเด็ก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่จำนวน 30 คู่ ผู้ปกครองกลุ่มนี้จะถูกประเมินโดยผู้วิจัยด้วยแบบประเมินที่ดัดแปลงจากสมาคมทันตแพทย์และกุมารแพทย์แห่งสหรัฐอเมริกา เด็กทั้ง 2 กลุ่มจะได้รับการตรวจวัดดัชนีคราบจุลินทรีย์โดยใช้ดัชนีคราบจุลินทรีย์ที่ดัดแปลงจากของ ซิลเนสและเลอ พอร์เชดลีและเฮลี และวิลกิ้นส์ จะทำการเก็บข้อมูลในระหว่างเดือนมีนาคม 2557 ถึงเดือนสิงหาคม 2557 ทั้งสิ้น 3 ครั้ง แต่ละครั้งห่างกันอย่างน้อย 1 เดือน ข้อมูลที่ได้ถูกนำมาวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ปกครองและเด็ก การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและการ เปลี่ยนแปลงอนามัยช่องปาก โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และเปรียบเทียบพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุในแต่ละด้านของกลุ่มทดลอง โดยใช้การทดสอบความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุในแต่ละด้านของกลุ่มควบคุมโดยใช้การทดสอบฟรีดแมน พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมในการทดลองทั้ง 3 ครั้ง โดยใช้การทดสอบแบบทีสำหรับสองกลุ่มที่ไม่สัมพันธ์กัน เปรียบเทียบข้อมูลดัชนีคราบจุลินทรีย์โดยใช้การทดสอบแบบทีสำหรับสองกลุ่มที่ไม่สัมพันธ์กันและการทดสอบแปรปรวนแบบวัดซ้ำ ผลการศึกษา: ได้แบบประเมินพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุสำหรับผู้ปกครองประเมินได้ด้วยตัวผู้ปกครองเองซึ่งประกอบด้วยปัจจัย 5 ด้าน ในแต่ละด้านมีจำนวนข้อคำถามที่เกี่ยวข้องแตกต่างกันไปจำนวน 20 คำถาม ได้แก่ (1) ปัจจัยด้านเชื้อก่อให้เกิดฟันผุและการถ่ายทอดเชื้อ 3คำถาม (2) ปัจจัยด้านการบริโภคนม 4 คำถาม (3) ปัจจัยด้านการบริโภคขนม ผัก ผลไม้ 4 คำถาม (4) ปัจจัยด้านพฤติกรรมการแปรงฟัน 4 คำถาม และ (5) ปัจจัยด้านอื่นๆ 5 คำถาม ทั้งนี้ มีการกำหนดค่าคะแนนสำหรับคำตอบแล้ว ให้ผู้ปกครองนำคะแนนที่ได้ใส่ลงในรูปภาพใยแมงมุมเพื่อให้ผู้ปกครองสามารถแปลผลและเข้าใจพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุได้ด้วยตัวเอง และพบว่า พฤติกรรมของผู้ปกครองในกลุ่มทดลองมีการเปลี่ยนแปลงทั้ง 5 ด้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และเมื่อนำมาเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม พบว่า ในกลุ่มทดลอง มีการเปลี่ยนแปลงถึง 9 ข้อจากคำถาม 20 ข้อ (ร้อยละ 45) แต่ในกลุ่มควบคุมมีการเปลี่ยนแปลง 3 ข้อ จากคำถาม 7 ข้อ (ร้อยละ 42.9) และเมื่อเปรียบเทียบค่าคะแนนรวมเฉลี่ยของพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุและค่าเฉลี่ยดัชนีคราบจุลินทรีย์ของเด็กระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมพบว่าไม่มีความแตกต่างกัน บทสรุป: ผู้ปกครองทั้ง 2 กลุ่มมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กไม่แตกต่างกัน แต่อย่างไรก็ตามแบบประเมินที่พัฒนาขึ้นนี้ถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีที่ทำให้ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการประเมินปัจจัยที่ทำให้เกิดฟันผุด้วยตนเอง 2020-04-02T14:32:27Z 2020-04-02T14:32:27Z 2559 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 37,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2560) 145-158 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2559_37_2_422.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67124 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่