ผลของระบบสารยึดติดต่อกำลังยึดติดระหว่างเนื้อฟันและวัสดุรองพื้นโพรงฟันชนิดคอมพอเมอร์

เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ทวีศักดิ์ ประสานสุทธิพร, ภัทริน พรหมชัยวัฒนา, อรณิชา ธนัทวรากรณ์, ทัดจันทร์ ครองบารมี, สุมนา จิตติเดชารักษ์
Language:Tha
Published: คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2559_37_2_417.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67133
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67133
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-671332020-04-02T14:32:29Z ผลของระบบสารยึดติดต่อกำลังยึดติดระหว่างเนื้อฟันและวัสดุรองพื้นโพรงฟันชนิดคอมพอเมอร์ Effect of Adhesive Systems on Bond Strength between Dentin and Compomer Base Materials ทวีศักดิ์ ประสานสุทธิพร ภัทริน พรหมชัยวัฒนา อรณิชา ธนัทวรากรณ์ ทัดจันทร์ ครองบารมี สุมนา จิตติเดชารักษ์ คอมพอเมอร์ กำลังยึดติดแบบดึงระดับจุลภาค สารบึดติด วัสดุรองพื้นโพรงฟัน เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบค่ากำลังยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคระหว่างเนื้อฟันกับวัสดุรองพื้นโพรงฟันชนิดคอมพอเมอร์ เมื่อร่วมกับการใช้และไม่ใช้สารยึดติด วัสดุและวิธีการ: ฟันกรามแท้ถูกกรอตัดจนถึงชั้นเนื้อฟันด้านบดเคี้ยวให้ได้ผิวฟันที่เรียบ แบ่งกลุ่มการทดลองเป็น 7 กลุ่ม โดยใช้สารยึดติดระบบโททอลเอทช์ (OptiBond™ FL) หรือใช้สารยึดติดระบบเซลฟ์เอทช์ (Clearfil™ SE Bond) หรือไม่ใช้สารยึดติด ร่วมกับวัสดุรองพื้นโพรงฟันชนิด Ionosit-Baseliner หรือ Ionoseal® และกลุ่มที่ใช้วัสดุเรซินมอดิฟายด์กลาสส์ไอโอโนเมอร์ (FujiII LC®) เก็บฟันตัวอย่างไว้ในน้ำกลั่นที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 24 ชั่วโมง นำมาตัดให้ได้ชิ้นงานทรงแท่งที่มีพื้นที่หน้าตัด 1 x 1 ตารางมิลลิเมตร และนำไปทดสอบกำลังยึดติดแบบดึงระดับจุลภาค โดยเปรียบเทียบค่ากำลังดึงเฉลี่ยในแต่ละกลุ่มด้วยสถิติ one-way ANOVA และ Duncan test (p<0.05) ผลการศึกษา: การใช้วัสดุรองพื้นโพรงฟันชนิดคอมพอเมอร์ร่วมกับสารยึดติดทั้งสองระบบ ให้กำลังยึดติดสูงกว่าการไม่ใช้สารยึดติด เมื่อเปรียบเทียบจากชนิดของวัสดุคอมพอเมอร์ กลุ่มการทดลองด้วยวัสดุ Ionosit-Baselinerให้กำลังยึดติดสูงกว่ากลุ่ม Ionoseal® และเมื่อพิจารณาในด้านระบบสารยึดติด สารยึดติดระบบโททอลเอทช์มีแนวโน้มในการให้กำลังยึดติดที่สูงกว่าระบบเซลฟ์เอทช์ สรุปผลการศึกษา: วัสดุรองพื้นโพรงฟันชนิดคอมพอเมอร์ไม่สามารถเกิดการยึดติดกับเนื้อฟันได้ดี เมื่อไม่ใช้ร่วมกับสารยึดติด ดังนั้นควรใช้สารยึดติดร่วมกับการใช้งานวัสดุดังกล่าว 2020-04-02T14:32:29Z 2020-04-02T14:32:29Z 2559 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 37,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2560) 91-100 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2559_37_2_417.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67133 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic คอมพอเมอร์
กำลังยึดติดแบบดึงระดับจุลภาค
สารบึดติด
วัสดุรองพื้นโพรงฟัน
spellingShingle คอมพอเมอร์
กำลังยึดติดแบบดึงระดับจุลภาค
สารบึดติด
วัสดุรองพื้นโพรงฟัน
ทวีศักดิ์ ประสานสุทธิพร
ภัทริน พรหมชัยวัฒนา
อรณิชา ธนัทวรากรณ์
ทัดจันทร์ ครองบารมี
สุมนา จิตติเดชารักษ์
ผลของระบบสารยึดติดต่อกำลังยึดติดระหว่างเนื้อฟันและวัสดุรองพื้นโพรงฟันชนิดคอมพอเมอร์
description เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม
author ทวีศักดิ์ ประสานสุทธิพร
ภัทริน พรหมชัยวัฒนา
อรณิชา ธนัทวรากรณ์
ทัดจันทร์ ครองบารมี
สุมนา จิตติเดชารักษ์
author_facet ทวีศักดิ์ ประสานสุทธิพร
ภัทริน พรหมชัยวัฒนา
อรณิชา ธนัทวรากรณ์
ทัดจันทร์ ครองบารมี
สุมนา จิตติเดชารักษ์
author_sort ทวีศักดิ์ ประสานสุทธิพร
title ผลของระบบสารยึดติดต่อกำลังยึดติดระหว่างเนื้อฟันและวัสดุรองพื้นโพรงฟันชนิดคอมพอเมอร์
title_short ผลของระบบสารยึดติดต่อกำลังยึดติดระหว่างเนื้อฟันและวัสดุรองพื้นโพรงฟันชนิดคอมพอเมอร์
title_full ผลของระบบสารยึดติดต่อกำลังยึดติดระหว่างเนื้อฟันและวัสดุรองพื้นโพรงฟันชนิดคอมพอเมอร์
title_fullStr ผลของระบบสารยึดติดต่อกำลังยึดติดระหว่างเนื้อฟันและวัสดุรองพื้นโพรงฟันชนิดคอมพอเมอร์
title_full_unstemmed ผลของระบบสารยึดติดต่อกำลังยึดติดระหว่างเนื้อฟันและวัสดุรองพื้นโพรงฟันชนิดคอมพอเมอร์
title_sort ผลของระบบสารยึดติดต่อกำลังยึดติดระหว่างเนื้อฟันและวัสดุรองพื้นโพรงฟันชนิดคอมพอเมอร์
publisher คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2559_37_2_417.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67133
_version_ 1681426578131648512