ผลของการออกกำลังกายแบบแอโรบิคกับเก้าอี้ต่อความเหนื่อยล้า และความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกายใน ผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัด...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/75132/60563 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67138 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-67138 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
ความเหนื่อยล้า ความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกาย การออกกำลังกายแบบแอโรบิคกับเก้าอี้ โรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม |
spellingShingle |
ความเหนื่อยล้า ความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกาย การออกกำลังกายแบบแอโรบิคกับเก้าอี้ โรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ธัญญารัตน์ บุญโทย นิตยา ภิญโญคำ จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช ผลของการออกกำลังกายแบบแอโรบิคกับเก้าอี้ต่อความเหนื่อยล้า และความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกายใน ผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม |
description |
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ |
author |
ธัญญารัตน์ บุญโทย นิตยา ภิญโญคำ จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช |
author_facet |
ธัญญารัตน์ บุญโทย นิตยา ภิญโญคำ จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช |
author_sort |
ธัญญารัตน์ บุญโทย |
title |
ผลของการออกกำลังกายแบบแอโรบิคกับเก้าอี้ต่อความเหนื่อยล้า และความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกายใน ผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม |
title_short |
ผลของการออกกำลังกายแบบแอโรบิคกับเก้าอี้ต่อความเหนื่อยล้า และความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกายใน ผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม |
title_full |
ผลของการออกกำลังกายแบบแอโรบิคกับเก้าอี้ต่อความเหนื่อยล้า และความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกายใน ผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม |
title_fullStr |
ผลของการออกกำลังกายแบบแอโรบิคกับเก้าอี้ต่อความเหนื่อยล้า และความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกายใน ผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม |
title_full_unstemmed |
ผลของการออกกำลังกายแบบแอโรบิคกับเก้าอี้ต่อความเหนื่อยล้า และความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกายใน ผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม |
title_sort |
ผลของการออกกำลังกายแบบแอโรบิคกับเก้าอี้ต่อความเหนื่อยล้า และความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกายใน ผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/75132/60563 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67138 |
_version_ |
1681426579062784000 |
spelling |
th-cmuir.6653943832-671382020-04-02T14:32:29Z ผลของการออกกำลังกายแบบแอโรบิคกับเก้าอี้ต่อความเหนื่อยล้า และความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกายใน ผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม Effects of Chair Aerobic Exercise on Fatigue and Functional Capacity Among Persons with Chronic Kidney Disease Receiving Hemodialysis ธัญญารัตน์ บุญโทย นิตยา ภิญโญคำ จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช ความเหนื่อยล้า ความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกาย การออกกำลังกายแบบแอโรบิคกับเก้าอี้ โรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ ความเหนื่อยล้าและการลดลงของความสามารถในการททำหน้าที่ของร่างกายของผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมเป็นปัญหาที่พบได้บ่อย การออกกำลังกายจะช่วยลดปัญหานี้ลงได้ การออกกำลังกายแบบแอโรบิคกับเก้าอี้จึงอาจจะมีประโยชน์ในประชากรกลุ่มนี้ การวิจัยแบบกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการออกกำลังกายแบบแอโรบิคกับเก้าอี้ต่อความเหนื่อยล้าและความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกายในผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ณ หน่วยไตเทียมโรงพยาบาลค่ายกาวิละและ โรงพยาบาลเทพปัญญา จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2556 ถึงเดือนเมษายน 2557 จำนวน 34 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงโดยจับฉลากตามวันที่มารับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 17 ราย โดยกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติและกลุ่มทดลอง ออกกำลังกายแบบแอโรบิคกับเก้าอี้เป็นเวลา 12 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) วิดิทัศน์และคู่มือการออกกำลังกายแบบแอโรบิคกับเก้าอี้ 2) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 3) แบบประเมินการรับรู้ความเหนื่อยของบอร์ก 4) แบบประเมินความเหนื่อยล้าของไปเปอร์และคณะฉบับปรับปรุง (Piper et al., 1998) ซึ่งดัดแปลงและแปลโดย ปฤษณภานุรังษี(2000) และ 5) แบบบันทึกระยะทางที่สามารถเดินบน พื้นราบได้ในเวลา 6 นาทีวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยความเหนื่อยล้าในผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมหลังการออกกำลังกายแบบแอโรบิคกับเก้าอี้น้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p < .001) และน้อยกว่าก่อนการออกกำลังกายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p < .001) ค่าเฉลี่ยความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกายในผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมหลังการออกกำลังกายแบบแอโรบิคกับเก้าอี้มากกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p < .001) และมากกว่าก่อนการออกกำลังกายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p < .001) ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าการออกกำลังกายแบบแอโรบิคกับเก้าอี้สามารถช่วยลดความเหนื่อยล้า และเพิ่มความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกายในผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม จึงเสนอแนะให้เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่เหมาะสมสำหรับการออกกำลังกายในประชากรกลุ่มดังกล่าว Fatigue and a decreased functional capacity among persons with chronic kidney disease receiving hemodialysis are the most common problems. Exercise can relieve such problems. Chair aerobic exercise may be beneficial to this population. This quasi-experimental research study aimed to examine effects of chair aerobic exercise on fatigue and functional capacity among persons with chronic kidney disease receiving hemodialysis. Subjects were persons with chronic kidney disease receiving hemodialysis at Kawila Hospital and Theppanya Hospital,Chiang Mai, Thailand from December, 2013 to April, 2014. Thirty-four subjects were purposivelyselected and assigned into the control or experimental group based on their hemodialysis schedule, with 17 participants in each group. Subjects in the control group received routine care whereas, those in the experimental group participated in chair aerobic exercise for 12 weeks. Research instruments consisted of: 1) the chair aerobic exercise DVD and handbook,2) the demographic data recording form, 3) Borg’s scale record form, 4) the Revised Piper Fatigue Scale (Piper et al., 1998) adapted and translated by Pritsanapanurungsie (2000), and 5) the 6 minute walk test record form. The data were analyzed using descriptive statistics and t-test.Research results revealed that: 1. The fatigue mean score of persons with chronic kidney disease receiving hemodialysisafter performing chair aerobic exercise was significantly lower than those who received usual routine care (p < .001) and was significantly lower than before initiating exercise (p < .001) 2. The functional capacity mean score of persons with chronic kidney disease receivinghemodialysis after performing chair aerobic exercise was significantly higher than those who received usual routine care (p < .001) and was significantly higher than before initiating exercise(p < .001) Study results demonstrated that chair aerobic exercise could be useful for reducing fatigue and increasing functional capacity among persons with chronic kidney disease receivinghemodialysis. Therefore, chair aerobic exercise is suggested as an appropriate exercise for this population. 2020-04-02T14:32:29Z 2020-04-02T14:32:29Z 2559 พยาบาลสาร 44, 4 (ต.ค.-ก.ย. 2559), 35-45 0125-5118 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/75132/60563 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67138 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |