การจัดการข้อมูลเพื่อการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัด...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/75228/60632 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67143 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-67143 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
การจัดการข้อมูล การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ |
spellingShingle |
การจัดการข้อมูล การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ แววดาว ทวีชัย วันทนีย์ จันทร์เอี่ยม การจัดการข้อมูลเพื่อการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ |
description |
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ |
author |
แววดาว ทวีชัย วันทนีย์ จันทร์เอี่ยม |
author_facet |
แววดาว ทวีชัย วันทนีย์ จันทร์เอี่ยม |
author_sort |
แววดาว ทวีชัย |
title |
การจัดการข้อมูลเพื่อการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ |
title_short |
การจัดการข้อมูลเพื่อการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ |
title_full |
การจัดการข้อมูลเพื่อการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ |
title_fullStr |
การจัดการข้อมูลเพื่อการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ |
title_full_unstemmed |
การจัดการข้อมูลเพื่อการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ |
title_sort |
การจัดการข้อมูลเพื่อการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/75228/60632 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67143 |
_version_ |
1681426579989725184 |
spelling |
th-cmuir.6653943832-671432020-04-02T14:32:30Z การจัดการข้อมูลเพื่อการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ Data Management for Hospital Accreditation of University Hospitals แววดาว ทวีชัย วันทนีย์ จันทร์เอี่ยม การจัดการข้อมูล การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ การรับรองกระบวนการคุณภาพโรงพยาบาล โรงพยาบาลต้องมีการจัดการระบบข้อมูลที่ดี ครบถ้วน เพียงพอสำหรับการรับรองกระบวนการคุณภาพได้การศึกษาสภาพข้อมูล, แนวทางการจัดการข้อมูล ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการข้อมูล และโครงสร้างความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการข้อมูลเพื่อการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ศึกษาในกลุ่มโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทยที่นำมาตรฐานโรงพยาบาลมาใช้ จำนวน 12 แห่ง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงและเก็บข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญระบบคุณภาพใน โรงพยาบาล จำนวน 24 คน ด้วยเทคนิคเดลฟาย (Delphi Technique) และจากแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับจากบุคลากรในโรงพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพ จำนวน 264 คน การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression) และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพข้อมูลเพื่อการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีสาระที่ต้องให้ความสำคัญ เกี่ยวกับความเข้าใจในข้อมูลของผู้ส่งสาร การทำให้เนื้อหาการสื่อสารมีสาระชัดเจน การระบุประเด็นสำคัญของข้อมูล เนื้อหาการสื่อสารมีความกระชับเข้าใจง่าย การยึดถือความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลัก ต้องมีผู้รับผิดชอบกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การต่อยอดการพัฒนาที่ทำให้บุคลากรมีการนำวิธีการปฏิบัติที่ดีมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้รวมถึงการให้รางวัลเป็นการกระตุ้นให้มีการทำงานเป็นทีม การทำให้บุคลากรเห็นประโยชน์ของการประเมินตนเองทำให้มีการประเมินตนเองอยู่เสมอ นอกจากนี้ ผู้บริหารต้องทำให้บุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วม มีการสื่อสารข้อมูลเกี่ยวกับภาวะที่คุกคามองค์กรจะทำให้บุคลากรมีการปกป้องระวังภัยให้องค์กร รวมถึงการกระตุ้นเตือนของหัวหน้างานทุกระดับเพื่อให้เกิดกา รพัฒนาอย่างต่อเนื่อง แม้ว่างานจะประสบผลสำเร็จแล้วก็ตาม 2. การจัดการข้อมูลเพื่อการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของประกอบด้วย 3 กลุ่ม ได้แก่ ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติและการจัดการ 3. วัฒนธรรมองค์กร ความรู้สึกเป็นเจ้าขององค์กร การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในองค์กร และการสื่อสารในองค์กร เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการข้อมูลเพื่อการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 4. โครงสร้างความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการข้อมูลเพื่อการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ ประกอบไปด้วยปัจจัยที่สำคัญที่สุดคือ การสื่อสารภายในองค์กร รองลงมา คือ ความรู้สึกเป็นเจ้าขององค์กร การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในองค์กร และวัฒนธรรมองค์กร ตามลำดับ ข้อสรุป การจัดการข้อมูลเพื่อการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล คือการเรียนรู้ที่จะนำข้อมูลมาใช้เพื่อการพัฒนา ต้องมีการเรียนรู้ข้อมูลอยู่ตลอดเวลา ต้องมีการใช้ฐานข้อมูลเพื่อการจัดการความรู้ Hospital Accreditation, Hospitals must have a great deal of data systems, accurate and sufficient data for Accreditation. Studying the nature of data hospital accreditation, the ways to the data management, the factors affecting data management and the structuralrelationship of various factors affecting data management for accreditation of state universityhospitals. The study is was made of a group of Thailand twelve state university hospitals that have been using the hospital standards. The research sampling subjects were selected through purposive sampling, and its data were collected from the experts on the hospital quality system for a total of 24 persons by means of Delphi Technique and 264 Likert scale questionnaire. The analysis used Stepwise Multiple Regression and data analysis used statisticby mean and standard deviation.Results of the research were as given below:1. The nature of the data for accreditation of state university hospitals had the subject matters to be prioritized as follows: understanding the data sent by a sender, makingmeaningful, clear, precise and comprehensible its subject matters, upholding the patient safety as optimal principle, availability of someone to take responsibility for knowledge exchange process with emphasis on teamwork, managing the personnel to always perceive the benefits of self-assessment; the personnel at all level must have participation and continuous development, including a sense of belonging to the organization. 2. The data management for accreditation of state university hospitals consists of Administer, Practitioner and Management.3. As regards the factors affecting the data management for accreditation of state university hospitals, the organization had given priority to its culture, followed by the sense of belonging to the organization, experience exchange within the organization, andcommunication within the organization, especially two-way communication. 4. Structural relationship of the factors affecting the data management for accreditationof state university hospitals consisted of the imminent factors, that is to say, communication within the organization, followed by the sense of belonging to the organization, experience exchange within the organization, and organization culture, respectively. Conclusion Data management for Accreditation is learning to use the data to developing.Must have to learn all the time and to use database for knowledge management. 2020-04-02T14:32:30Z 2020-04-02T14:32:30Z 2559 พยาบาลสาร 44, 4 (ต.ค.-ก.ย. 2559), 102-116 0125-5118 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/75228/60632 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67143 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |