การศึกษาจากกรณีศึกษา Microfinance เพื่อหาแนวทางบริหารจัดการระบบให้บริการทางการเงินระดับจุลภาคในชุมชนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา: 8 จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน

วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ไพรัช กาญจนการุณ, ศศิเพ็ญ พวงสายใจ, พิมลพรรณ บุญยะเสนา, สุขุม พันธุ์ณรงค์
Language:Tha
Published: คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:https://so01.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/61024/50269
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67190
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67190
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-671902020-04-02T14:32:32Z การศึกษาจากกรณีศึกษา Microfinance เพื่อหาแนวทางบริหารจัดการระบบให้บริการทางการเงินระดับจุลภาคในชุมชนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา: 8 จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน ไพรัช กาญจนการุณ ศศิเพ็ญ พวงสายใจ พิมลพรรณ บุญยะเสนา สุขุม พันธุ์ณรงค์ องค์กรการเงินชุมชน วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการ การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาจากกลุ่มองค์กรการเงิน ชุมชนที่เข้มแข็งถึงแนวทางบริหารจัดการระบบให้บริการทาง การเงินระดับจุลภาคในแต่ละสภาพชุมชนตามแนวทางปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งกลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มองค์กรการเงิน ชุมชน (Microfinance) ที่เข้มแข็ง (Best Practice) จำนวน 24 แห่ง ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง ลำพูน พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอน ผลการศึกษา พบว่าแนวทางการดำเนินงานขององค์กรการเงินชุมชนตามแนวทาง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ควรมีแนวทางดังนี้ (1) ด้านความพอประมาณ องค์กรการเงินชุมชนที่เข้มแข็งมีการปล่อยกู้เพื่อการ ลงทุนให้สมาชิกในวงเงินตามระดับการออมของสมาชิก มีการจำกัดเพดานสูงสุดของเงิน ออม ควรมีการส่งเสริมให้สมาชิกกลุ่มการเงินชุมชนมีอาชีพเสริมที่ก่อให้เกิดรายได้ ส่งเสริม การดำเนินกิจกรรมเพื่อลดรายจ่ายของครัวเรือน เช่น มีการปลูกผักสวนครัว ผลไม้ และการ เลี้ยงสัตว์ ลดค่าใช้จ่ายที่ฟุ่มเฟือยต่างๆ ส่งเสริมการดำเนินกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น ลดหรือเลิกอบายมุข สุรา ยาสูบ หวย และการพนัน เป็นต้น (2) ด้านความมีเหตุผล องค์กรการเงินชุมชนที่เข้มแข็งมีการดำเนินงานโดยการ จัดทำแผน/โครงการ/กิจกรรมให้สอดคล้องกับพันธกิจ วิสัยทัศน์ของกลุ่ม เพื่อให้เกิดการ พัฒนากลุ่มการเงินอย่างมีทิศทาง มีแนวคิดในการบริหารจัดการ การให้บริการ การจัด สวัสดิการที่ชัดเจน มีการส่งเสริมสมาชิกกลุ่มจัดทำบัญชีครัวเรือนเพื่อสามารถวิเคราะห์การ ใช้จ่ายของครัวเรือน อันจะนำสู่การปรับพฤติกรรมการใช้จ่ายของครอบครัว (3) ด้านการมีภูมิคุ้มกัน องค์กรการเงินชุมชนที่เข้มแข็งมีการประกันความเสี่ยง จากการกู้เงิน เช่นใช้สมาชิกหรือผู้ใช้บริการรายอื่น เป็นผู้ค้ำประกัน 2 คน และคู่สมรสต้องยินยอมลงลายมือชื่อในเอกสารคำขอกู้และเอกสารที่เกี่ยวข้องทั้งปวง มีการเชิญผู้มีความรู้ ความสามารถมาเป็นที่ปรึกษาและเข้ามาร่วมกิจกรรมกลุ่ม มีการส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่ม ชุมชนหรือกลุ่มอาชีพในชุมชนเพื่อทำให้เกิดการรวมกลุ่มของคนในชุมชนเพื่อช่วยเหลือซึ่ง กันและกัน (4) ด้านความรู้ องค์กรการเงินชุมชนที่เข้มแข็งมีการฝึกอบรมให้ความรู้หรือศึกษา ดูงานแก่คณะกรรมการและสมาชิกอย่างสม่ำเสมอ มีการสอนและจัดอบรมให้ความรู้ในการ ทำบัญชี โดยให้คณะกรรมการเป็นวิทยากร ส่งเสริมให้สมาชิกมีการเรียนรู้และอบรมใน แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อใช้ในชีวิตประจำวันที่จัดโดยหน่วยงานต่างๆ ผู้นำ ชุมชน กลุ่ม/องค์กรเครือข่ายชุมชน มีการจัดเวทีเพื่อพูดคุยกันเป็นประจำทุกเดือน ส่งเสริม ให้ชุมชนมีการสืบทอดและใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้มีการถ่ายทอดและนำไปใช้ในการ ประกอบพิธีกรรม การทำการเกษตร การประกอบอาชีพของหมู่บ้าน มีการส่งเสริมจัดการ ความรู้ในชุมชนบันทึกภูมิปัญญาท้องถิ่น (5) ด้านคุณธรรม องค์กรการเงินชุมชนที่เข้มแข็งควรยึดหลักคุณธรรมในการ บริหารงาน ดำเนินงานโดยมีความซื่อสัตย์ต่อกัน มีความเสียสละเพื่อส่วนรวม มีความ รับผิดชอบ มีความเห็นอกเห็นใจต้องการช่วยเหลือกันและกันและมีความไว้วางใจซึ่งกันและ กัน เป็นต้น ส่งเสริมให้คนในชุมชนส่วนใหญ่มีการปฏิบัติตามหลักพระพุทธศาสนา 2020-04-02T14:32:32Z 2020-04-02T14:32:32Z 2558 วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 19, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2558), 67-81 0859-8479 https://so01.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/61024/50269 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67190 Tha คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic องค์กรการเงินชุมชน
spellingShingle องค์กรการเงินชุมชน
ไพรัช กาญจนการุณ
ศศิเพ็ญ พวงสายใจ
พิมลพรรณ บุญยะเสนา
สุขุม พันธุ์ณรงค์
การศึกษาจากกรณีศึกษา Microfinance เพื่อหาแนวทางบริหารจัดการระบบให้บริการทางการเงินระดับจุลภาคในชุมชนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา: 8 จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน
description วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการ
author ไพรัช กาญจนการุณ
ศศิเพ็ญ พวงสายใจ
พิมลพรรณ บุญยะเสนา
สุขุม พันธุ์ณรงค์
author_facet ไพรัช กาญจนการุณ
ศศิเพ็ญ พวงสายใจ
พิมลพรรณ บุญยะเสนา
สุขุม พันธุ์ณรงค์
author_sort ไพรัช กาญจนการุณ
title การศึกษาจากกรณีศึกษา Microfinance เพื่อหาแนวทางบริหารจัดการระบบให้บริการทางการเงินระดับจุลภาคในชุมชนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา: 8 จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน
title_short การศึกษาจากกรณีศึกษา Microfinance เพื่อหาแนวทางบริหารจัดการระบบให้บริการทางการเงินระดับจุลภาคในชุมชนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา: 8 จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน
title_full การศึกษาจากกรณีศึกษา Microfinance เพื่อหาแนวทางบริหารจัดการระบบให้บริการทางการเงินระดับจุลภาคในชุมชนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา: 8 จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน
title_fullStr การศึกษาจากกรณีศึกษา Microfinance เพื่อหาแนวทางบริหารจัดการระบบให้บริการทางการเงินระดับจุลภาคในชุมชนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา: 8 จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน
title_full_unstemmed การศึกษาจากกรณีศึกษา Microfinance เพื่อหาแนวทางบริหารจัดการระบบให้บริการทางการเงินระดับจุลภาคในชุมชนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา: 8 จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน
title_sort การศึกษาจากกรณีศึกษา microfinance เพื่อหาแนวทางบริหารจัดการระบบให้บริการทางการเงินระดับจุลภาคในชุมชนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา: 8 จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน
publisher คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url https://so01.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/61024/50269
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67190
_version_ 1681426588830269440