ผลของสารสกัดจากเมล็ดองุ่นต่อความคงทนของแรงยึดติดของเนื้อฟันที่ถูกปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์

เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ภวัต โลเกศเสถียร, สิทธิกร คุณวโรตม์, สุมนา จิตติเดชารักษ์
Language:Tha
Published: คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2559_37_2_413.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67207
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67207
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-672072020-04-02T14:32:32Z ผลของสารสกัดจากเมล็ดองุ่นต่อความคงทนของแรงยึดติดของเนื้อฟันที่ถูกปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ Effect of Grape Seed Extract on Bond Durability to Sodium Hypochlorite-treated Dentin ภวัต โลเกศเสถียร สิทธิกร คุณวโรตม์ สุมนา จิตติเดชารักษ์ โซเดียมไฮโปคลอไรท์ ความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาค โปรเเอนโธไซยานิดิน ความคงทนของแรงยึดติด เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของสารละลายโปรเเอนโธไซยานิดินจากสารสกัดจากเมล็ดองุ่นต่อค่าความคงทนของแรงยึดติดระหว่างเรซินคอมโพสิตกับเนื้อฟันที่ถูกปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์เมื่อผ่านการจำลองระยะเวลาด้วยวิธีการเทอร์โมไซคลิง วิธีการวิจัย ใช้ฟันกรามแท้ 48 ซี่ ตัดฟันด้านบดเคี้ยวใต้ต่อรอยต่อเนื้อฟันเคลือบฟัน 1 มม. สุ่มแบ่งเป็น 4 กลุ่มกลุ่มที่ 1 ล้างผิวเนื้อฟันด้วยน้ำกลั่น 10 วินาที กลุ่มที่ 2 ปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ความเข้มข้นร้อยละ 5.25 เป็นเวลา 30 วินาที กลุ่มที่ 3 และ 4 ปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์ความเข้มข้นร้อยละ 5.25 เป็นเวลา 30 วินาทีแล้วทาสารละลายโปรแอนโธไซยานิดินความเข้มข้นร้อยละ 10 และ 15 เป็นเวลา 15 วินาทีตามลำดับ หลังจากนั้นฟันทั้งหมดจะถูกล้างน้ำและเป่าลม ทำการยึดติดด้วยสารยึดติดระบบเซลฟ์เอทช์ เคลียร์ฟิลเอสอีบอนด์ตามคำแนะนำของบริษัท อุดด้วยเรซินคอมโพสิตเคลียร์ฟิลเอพีเอ็กซ์ นำฟันที่อุดแล้วในแต่ละกลุ่มไปเก็บในน้ำกลั่นอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นเตรียมชิ้นงานเป็นรูปนาฬิกาทรายมีพื้นที่หน้าตัดในการยึดติดประมาณ 1 ตารางมิลลิเมตร แบ่งการทดสอบแต่ละกลุ่มออกเป็น 3 กลุ่มย่อยตามระยะเวลาคือ กลุ่มที่ 1 ทำการทดสอบทันทีหลังเตรียมชิ้นงานเสร็จ กลุ่มที่ 2 และ 3 จำลองระยะเวลาโดยการใช้วิธีการเทอร์โมไซคลิง 2,500 และ 5,000 รอบตามลำดับ เมื่อครบระยะเวลาที่กำหนดนำชิ้นงานไปทดสอบความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาค ที่ความเร็วหัวกด 1 มม./นาที นำค่าที่ได้ไปทดสอบทางสถิติด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่มด้วยการเปรียบเทียบเชิงซ้อนชนิดแทมเฮนย์ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ผลการศึกษา ค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคระหว่างเรซินคอมโพสิตและเนื้อฟัน ภายหลังจากเก็บชิ้นงานในน้ำกลั่น 24 ชั่วโมงและการจำลองระยะเวลาด้วยเทอร์โมไซคลิง 2,500 รอบ กลุ่มที่ได้รับการปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์มีค่าต่ำกว่ากลุ่มการทดลองอื่นอย่างมีนัยสำคัญ กลุ่มที่ได้รับการปรับปรุงผิวเนื้อฟันด้วยสารละลายโปรแอนโธไซยานิดินความเข้มข้นร้อยละ 10 และ 15 ให้ค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดติดไม่แตกต่างจากกลุ่มที่ไม่ผ่านการเตรียมผิวเนื้อฟันด้วยสารใดๆ อย่างไรก็ตามเมื่อจำลองระยะเวลาด้วยเทอร์โมไซคลิง 5,000 รอบ ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในทุกกลุ่มทดลอง สรุปผลการศึกษา การใช้สารละลายโปรแอนโธไซยานิดินความเข้มข้นร้อยละ 10 และ 15 เป็นระยะเวลา 15 วินาทีบนเนื้อฟันที่ได้รับการปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์สามารถปรับปรุงความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาคภายหลังจากการยึดติด 24 ชั่วโมง และค่าความคงทนของแรงยึดติดหลังจากการจำลองระยะเวลาด้วยเทอร์-โมไซคลิงจำนวน 2,500 รอบ 2020-04-02T14:32:32Z 2020-04-02T14:32:32Z 2559 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 37,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2560) 49-60 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2559_37_2_413.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67207 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic โซเดียมไฮโปคลอไรท์
ความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาค
โปรเเอนโธไซยานิดิน
ความคงทนของแรงยึดติด
spellingShingle โซเดียมไฮโปคลอไรท์
ความแข็งแรงยึดติดแบบดึงระดับจุลภาค
โปรเเอนโธไซยานิดิน
ความคงทนของแรงยึดติด
ภวัต โลเกศเสถียร
สิทธิกร คุณวโรตม์
สุมนา จิตติเดชารักษ์
ผลของสารสกัดจากเมล็ดองุ่นต่อความคงทนของแรงยึดติดของเนื้อฟันที่ถูกปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์
description เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม
author ภวัต โลเกศเสถียร
สิทธิกร คุณวโรตม์
สุมนา จิตติเดชารักษ์
author_facet ภวัต โลเกศเสถียร
สิทธิกร คุณวโรตม์
สุมนา จิตติเดชารักษ์
author_sort ภวัต โลเกศเสถียร
title ผลของสารสกัดจากเมล็ดองุ่นต่อความคงทนของแรงยึดติดของเนื้อฟันที่ถูกปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์
title_short ผลของสารสกัดจากเมล็ดองุ่นต่อความคงทนของแรงยึดติดของเนื้อฟันที่ถูกปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์
title_full ผลของสารสกัดจากเมล็ดองุ่นต่อความคงทนของแรงยึดติดของเนื้อฟันที่ถูกปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์
title_fullStr ผลของสารสกัดจากเมล็ดองุ่นต่อความคงทนของแรงยึดติดของเนื้อฟันที่ถูกปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์
title_full_unstemmed ผลของสารสกัดจากเมล็ดองุ่นต่อความคงทนของแรงยึดติดของเนื้อฟันที่ถูกปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์
title_sort ผลของสารสกัดจากเมล็ดองุ่นต่อความคงทนของแรงยึดติดของเนื้อฟันที่ถูกปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์
publisher คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2559_37_2_413.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67207
_version_ 1681426591962365952