สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นแบบเคลื่อนที่ของชาวเล: กรณีศึกษา ชาวมอแกนในหมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา และชาวอูรักลาโว้ยในบ้านโต๊ะบาหลิว เกาะลันตาใหญ่ จังหวัดกระบี่

วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถา...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อัมพิกา อำลอย, วีระ อินพันทัง
Language:Tha
Published: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 2020
Subjects:
Online Access:https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/194855/160511
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67210
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67210
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-672102020-04-02T14:43:12Z สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นแบบเคลื่อนที่ของชาวเล: กรณีศึกษา ชาวมอแกนในหมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา และชาวอูรักลาโว้ยในบ้านโต๊ะบาหลิว เกาะลันตาใหญ่ จังหวัดกระบี่ Sea nomads’ mobile vernacular architecture: case studies of Moken ethnic group in Mu ko Surin, Phangnga province and Urak Lawoi ethnic group in Baan To - Baliew, ko Lanta Yai, Krabi province อัมพิกา อำลอย วีระ อินพันทัง ชาวมอแกน ชาวอูรักลาโว้ย การตั้งถิ่นฐานชั่วคราว สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น นิเวศวิทยาวัฒนธรรม วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบัน บทความนี้มุ่งศึกษาลักษณะการตั้งถิ่นฐาน และการก่อรูปสถาปัตยกรรมของชาวเลในช่วงก่อนการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตจากการเดินทางเร่ร่อนมาสู่การตั้งถิ่นฐานถาวร เป็นงานวิจัยภาคสนาม โดยเลือกทำการวิจัยในชาวเล 2 กลุ่ม คือ ชาวมอแกนในหมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา และชาวอูรักลาโว้ยในบ้านโต๊ะบาหลิวเกาะลันตาใหญ่ จังหวัดกระบี่ ซึ่งเป็นกลุ่มที่สามารถธำรงวัฒนธรรมดั้งเดิมไว้ได้เหนียวแน่น กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยการกำหนดคุณลักษณะขึ้นเพื่อเป็นบรรทัดฐานในการคัดเลือกผลการวิจัยค้นพบว่า วิถีชีวิตเร่ร่อนทางทะเลเป็นทางเลือกที่เหมาะสมของชาวเลในช่วงเวลาหนึ่ง ความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติเป็นปัจจัยสำคัญที่ดึงดูดให้ชาวเลผู้ดำรงตนอยู่ในสังคมเก็บหาและล่าสัตว์เข้ามาอยู่อาศัย และทำมาหากินในเขตทะเลอันดามัน ชาวเลอาศัยอยู่ร่วมกับธรรมชาติในลักษณะพึ่งพา เน้นการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมมากกว่าการเข้าไปจัดการ เห็นได้จากแบบแผนการดำรงชีพที่หมุนเวียนไปตามสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ เมื่อชาวเลตัดสินใจปักหลักอยู่ ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่ง จะจอดเรือ แล้วยกหลังคาเรือมาเสริมความแข็งแรงด้วยวัสดุที่หาได้ในละแวกถิ่นฐาน เพื่อดัดแปลงเป็นเพิงพัก เมื่อลมมรสุมได้ผ่านพ้นไปหรือความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งอาหารเริ่มลดลง จะออกเดินทางด้วยเรืออีกครั้ง ถือว่าเป็นการตั้งถิ่นฐานชั่วคราวเกิดขึ้นในช่วงเวลาสั้นๆ ขึ้นอยู่กับฤดูกาล โดยเฉพาะอิทธิพลของลมมรสุม ทั้งนี้เรือและเพิงพักของชาวเลถือว่าเป็นสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นแบบเคลื่อนที่ ซึ่งได้รับการจัดทำขึ้นเพื่อตอบสนองการอยู่อาศัยในชีวิตประจำวันให้รอดปลอดภัยและสะดวกสบายเพียงพอ สิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นเป็นผลของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งที่มนุษย์สร้างและสิ่งแวดล้อม 2020-04-02T14:43:12Z 2020-04-02T14:43:12Z 2562 วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 6,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2562), 3-19 2351-0935 https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/194855/160511 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67210 Tha มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ชาวมอแกน
ชาวอูรักลาโว้ย
การตั้งถิ่นฐานชั่วคราว
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
นิเวศวิทยาวัฒนธรรม
spellingShingle ชาวมอแกน
ชาวอูรักลาโว้ย
การตั้งถิ่นฐานชั่วคราว
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
นิเวศวิทยาวัฒนธรรม
อัมพิกา อำลอย
วีระ อินพันทัง
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นแบบเคลื่อนที่ของชาวเล: กรณีศึกษา ชาวมอแกนในหมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา และชาวอูรักลาโว้ยในบ้านโต๊ะบาหลิว เกาะลันตาใหญ่ จังหวัดกระบี่
description วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบัน
author อัมพิกา อำลอย
วีระ อินพันทัง
author_facet อัมพิกา อำลอย
วีระ อินพันทัง
author_sort อัมพิกา อำลอย
title สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นแบบเคลื่อนที่ของชาวเล: กรณีศึกษา ชาวมอแกนในหมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา และชาวอูรักลาโว้ยในบ้านโต๊ะบาหลิว เกาะลันตาใหญ่ จังหวัดกระบี่
title_short สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นแบบเคลื่อนที่ของชาวเล: กรณีศึกษา ชาวมอแกนในหมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา และชาวอูรักลาโว้ยในบ้านโต๊ะบาหลิว เกาะลันตาใหญ่ จังหวัดกระบี่
title_full สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นแบบเคลื่อนที่ของชาวเล: กรณีศึกษา ชาวมอแกนในหมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา และชาวอูรักลาโว้ยในบ้านโต๊ะบาหลิว เกาะลันตาใหญ่ จังหวัดกระบี่
title_fullStr สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นแบบเคลื่อนที่ของชาวเล: กรณีศึกษา ชาวมอแกนในหมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา และชาวอูรักลาโว้ยในบ้านโต๊ะบาหลิว เกาะลันตาใหญ่ จังหวัดกระบี่
title_full_unstemmed สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นแบบเคลื่อนที่ของชาวเล: กรณีศึกษา ชาวมอแกนในหมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา และชาวอูรักลาโว้ยในบ้านโต๊ะบาหลิว เกาะลันตาใหญ่ จังหวัดกระบี่
title_sort สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นแบบเคลื่อนที่ของชาวเล: กรณีศึกษา ชาวมอแกนในหมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา และชาวอูรักลาโว้ยในบ้านโต๊ะบาหลิว เกาะลันตาใหญ่ จังหวัดกระบี่
publisher มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
publishDate 2020
url https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/194855/160511
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67210
_version_ 1681426592526499840