ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมร่วมกับการออกกำลังกาย ต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า

วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัด...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ปรีดานันต์ ประสิทธิ์เวช, รัชนีกร อุปเสน
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/232525/158911
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67220
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67220
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-672202020-04-02T14:43:12Z ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมร่วมกับการออกกำลังกาย ต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า The effect of social support program combined with physical exercise on quality of life in Major Depressive Disorder patients ปรีดานันต์ ประสิทธิ์เวช รัชนีกร อุปเสน การสนับสนุนทางสังคม การออกกำลังกาย คุณภาพชีวิต ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง ศึกษาสองกลุ่มวัดผลก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ 1) คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมร่วมกับการออกกำลังกาย 2) คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมร่วมกับการออกกำลังกายกับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ อาศัยอยู่ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 40 คน โดยจับคู่ให้มีคุณสมบัติใกล้เคียงกันในเรื่องเพศ และระยะเวลาของการเจ็บป่วย จากนั้นทำการสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน กลุ่มทดลองได้เข้าร่วมกิจกรรมในโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมร่วมกับการออกกำลังกาย ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) โปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมร่วมกับการออกกำลังกาย ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากแนวคิดการออกกำลังกายของ Schuch et al. (2015) และการสนับสนุนทางสังคมของHouse (1981) 2) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ เครื่องมือชี้วัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL–BREF–THAI) แปลโดยสุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล และคณะ(Mahatniranakul et al.,1997) เครื่องมือทุกชุดผ่านการตรวจสอบ ความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน มีค่าความเที่ยงวิเคราะห์โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ .89 และ .90 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบที (t-test) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.คะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมร่วมกับการออกกำลังกายสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมร่วมกับการออกกำลังกาย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.คะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมร่วมกับการออกกำลังกาย สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0 2020-04-02T14:43:12Z 2020-04-02T14:43:12Z 2562 พยาบาลสาร 46, ฉบับพิเศษ (ธ.ค. 2562), 70-82 0125-5118 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/232525/158911 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67220 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic การสนับสนุนทางสังคม
การออกกำลังกาย
คุณภาพชีวิต
ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
spellingShingle การสนับสนุนทางสังคม
การออกกำลังกาย
คุณภาพชีวิต
ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
ปรีดานันต์ ประสิทธิ์เวช
รัชนีกร อุปเสน
ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมร่วมกับการออกกำลังกาย ต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
description วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ
author ปรีดานันต์ ประสิทธิ์เวช
รัชนีกร อุปเสน
author_facet ปรีดานันต์ ประสิทธิ์เวช
รัชนีกร อุปเสน
author_sort ปรีดานันต์ ประสิทธิ์เวช
title ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมร่วมกับการออกกำลังกาย ต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
title_short ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมร่วมกับการออกกำลังกาย ต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
title_full ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมร่วมกับการออกกำลังกาย ต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
title_fullStr ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมร่วมกับการออกกำลังกาย ต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
title_full_unstemmed ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมร่วมกับการออกกำลังกาย ต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
title_sort ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมร่วมกับการออกกำลังกาย ต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/232525/158911
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67220
_version_ 1681426594417082368