สภาพการทำหน้าที่ ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า ในผู้ที่ได้รับการฝังเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัด...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/136146/101610 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67227 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-67227 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-672272020-04-02T14:43:12Z สภาพการทำหน้าที่ ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า ในผู้ที่ได้รับการฝังเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ Functional Status, Anxiety and Depression among Persons with Automatic Implantable Cardioverter Defibrilltor ศิริวรรณ มีมะจำ มยุลี สำราญญาติ จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช สภาพการทำหน้าที่ ความวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ ภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันที่เกิดจากภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดรุนแรง เป็นสาเหตุสำคัญ ของการเสียชีวิต การฝังเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัตินอกจากจะเป็นวิธีการรักษาเพื่อช่วยชีวิตแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อการทำหน้าที่ของร่างกาย จิตใจและสังคม การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพการทำหน้าที่ ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าในผู้ที่ได้รับการฝังเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ ณ หน่วยตรวจพิเศษโรคหัวใจและหลอดเลือดแบบภายนอก โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ให้กลุ่มตัวอย่างที่คัดเลือกแบบเจาะจงจำนวน 125 ราย ได้รับแบบสอบถามคืน 95 ราย คิดเป็นร้อยละ 76 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบประเมินสภาพการทำหน้าที่ 3) แบบประเมินความวิตกกังวลแบ่งเป็นความวิตกกังวลขณะเผชิญ และความวิตกกังวลแบบแฝง 4) แบบประเมินภาวะซึมเศร้า วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ พิสัย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันพื้นฐานระดับดีร้อยละ 71.60 มีความพร่องในการทำหน้าที่ร้อยละ 28.40 การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันปานกลางระดับดีร้อยละ 45.30 มีความพร่องในการทำหน้าที่ร้อยละ 54.70 ด้านอารมณ์ มีสุขภาพจิตระดับดีร้อยละ 50.50 มีความพร่อง ในการทำหน้าที่ร้อยละ 49.50 ด้านสังคม มีการทำงานระดับดีร้อยละ 26.30 มีความพร่องในการทำหน้าที่ร้อยละ 73.70 มีกิจกรรมทางสังคมระดับดีร้อยละ 55.80 มีความพร่องในการทำหน้าที่ร้อยละ 44.20 มีคุณภาพในการเข้าสังคมระดับดีร้อยละ 69.50 และมีความพร่องในการทำหน้าที่ร้อยละ 30.50 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความวิตกกังวลแบบแฝงและความวิตกกังวลขณะเผชิญ ร้อยละ 90.50 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 76.80 ไม่มีภาวะซึมเศร้า ร้อยละ 11.60 มีภาวะซึมเศร้าระดับเล็กน้อย ร้อยละ 8.40 มีภาวะซึมเศร้าระดับปานกลาง และร้อยละ 3.20 มีภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง ผลการศึกษาในครั้งนี้ได้ข้อมูลปัญหาด้านการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันปานกลาง สุขภาพจิต สังคมและความวิตกกังวลที่ควรนำเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดูแลผู้ที่ได้รับการฝังเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ เพื่อหาแนวทางการพัฒนาการดูแลผู้ที่ได้รับการฝังเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติต่อไป 2020-04-02T14:43:12Z 2020-04-02T14:43:12Z 2561 พยาบาลสาร 45, 1 (ม.ค.-มี.ค. 2561), 26-36 0125-5118 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/136146/101610 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67227 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
สภาพการทำหน้าที่ ความวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ |
spellingShingle |
สภาพการทำหน้าที่ ความวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ ศิริวรรณ มีมะจำ มยุลี สำราญญาติ จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช สภาพการทำหน้าที่ ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า ในผู้ที่ได้รับการฝังเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ |
description |
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ |
author |
ศิริวรรณ มีมะจำ มยุลี สำราญญาติ จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช |
author_facet |
ศิริวรรณ มีมะจำ มยุลี สำราญญาติ จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช |
author_sort |
ศิริวรรณ มีมะจำ |
title |
สภาพการทำหน้าที่ ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า ในผู้ที่ได้รับการฝังเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ |
title_short |
สภาพการทำหน้าที่ ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า ในผู้ที่ได้รับการฝังเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ |
title_full |
สภาพการทำหน้าที่ ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า ในผู้ที่ได้รับการฝังเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ |
title_fullStr |
สภาพการทำหน้าที่ ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า ในผู้ที่ได้รับการฝังเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ |
title_full_unstemmed |
สภาพการทำหน้าที่ ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า ในผู้ที่ได้รับการฝังเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ |
title_sort |
สภาพการทำหน้าที่ ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า ในผู้ที่ได้รับการฝังเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/136146/101610 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67227 |
_version_ |
1681426595701587968 |