ผลของยาสีฟันลดอาการเสียวฟันต่อค่าแรงยึดติดแบบเฉือนระหว่างเนื้อฟันกับเรซินคอมโพสิต

เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: จิรัฏฐ์ ศรีหัตถจาติ, ปภาวดี ปัญจวัฒนคุณ, พลอยนภัส โล่หิรัญญานนท์, ธีรสุดา จินชัย, เพ็ญพิชชา นิตยารัมภ์พงศ์, พิชชาชัย เล็กสวัสดิ์
Language:Tha
Published: คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2560_38_1_434.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67237
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67237
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-672372020-04-02T14:43:12Z ผลของยาสีฟันลดอาการเสียวฟันต่อค่าแรงยึดติดแบบเฉือนระหว่างเนื้อฟันกับเรซินคอมโพสิต The Effect of Desensitizing Dentifrices on Shear Bond Strength between Dentin and Resin Composite จิรัฏฐ์ ศรีหัตถจาติ ปภาวดี ปัญจวัฒนคุณ พลอยนภัส โล่หิรัญญานนท์ ธีรสุดา จินชัย เพ็ญพิชชา นิตยารัมภ์พงศ์ พิชชาชัย เล็กสวัสดิ์ ยาสีฟันลดอาการเสียวฟัน เรซินคอมโพสิต แรง ยึดติดแบบเฉือน สารยึดติด เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลของยาสีฟันลดอาการเสียวฟัน 2 ชนิด ที่มีส่วนผสมของแคลเซียมโซเดียมฟอสโฟซิลิเกต (โนวามิน) และร้อยละ 8 อาร์จินีนแคลเซียมคาร์บอเนตต่อแรงยึดติดแบบเฉือนระหว่างเนื้อฟันกับวัสดุอุดฟันชนิดเรซินคอมโพสิต วัสดุและวิธีการ: ฟันกรามน้อย 70 ซี่ เตรียมชิ้นฟันให้มีขนาดตามที่กำหนด แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่แปรงด้วยน้ำกลั่น แปรงด้วยยาสีฟันที่มีส่วนผสมของโนวามิน (เซนโซดายน์ รีแพร์ แอนด์ โพร์เทค) และแปรงด้วยยาสีฟันที่มีส่วนผสมของร้อยละ 8 อาร์จินีน แคลเซียมคาร์บอเนต (คอลเกตเซนซิทีฟ โปรรีลีฟ) ทาสารยึดติดชนิดเซลฟ์เอช (Clearfil SE bond) และบูรณะด้วยเรซินคอมโพสิต ทดสอบค่าแรงยึดติดแบบเฉือนด้วยเครื่องทดสอบแรงมาตรฐาน (SHIMADZU EZ-S) บันทึกแรงที่ใช้เป็นหน่วยเมกะปาสคาลและนำมาวิเคราะห์ด้วยสถิติ One- way ANOVA ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ผลการศึกษา: ค่าแรงยึดติดแบบเฉือนในกลุ่มที่แปรงด้วยน้ำกลั่นมีค่าเฉลี่ย 11.94 เมกะปาสคาล ในขณะที่กลุ่มที่แปรงด้วยยาสีฟันที่มีส่วนผสมของโนวามินมีค่าเฉลี่ยแรงยึดติดแบบเฉือนอยู่ที่ 10.67 เมกะปาสคาลและกลุ่มที่แปรงด้วยยาสีฟันที่มีส่วนผสมของร้อยละ 8 อาร์จินีน แคลเซียมคาร์บอเนตมีค่าเฉลี่ยแรงยึดติดแบบเฉือนอยู่ที่ 8.65 เมกะปาสคาล เมื่อวิเคราะห์ด้วย One-way ANOVA พบว่ากลุ่มที่แปรงด้วยยาสีฟันที่มีส่วนผสมของร้อยละ 8 อาร์จีนีน แคลเซียมคาร์บอเนตเมื่อเทียบกับกลุ่มที่แปรงด้วยน้ำกลั่นมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (p <0.001) และกลุ่มที่แปรงด้วยยาสีฟันที่มีส่วนผสมของร้อยละ 8 อาร์จีนีน แคลเซียมคาร์บอเนตเมื่อเทียบกับกลุ่มที่แปรงด้วยยาสีฟันที่มีส่วนผสมของโนวามิน มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (p = 0.008) สรุป: กลุ่มที่แปรงด้วยยาสีฟันที่มีส่วนผสมของร้อยละ 8 อาร์จินีน แคลเซียมคาร์บอเนตมีค่าเฉลี่ยแรงยึดแบบเฉือนต่ำที่สุดและมีค่าแตกต่างจากสองกลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 2020-04-02T14:43:12Z 2020-04-02T14:43:12Z 2560 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 38,1 (ม.ค.-เม.ย. 2560) 113-120 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2560_38_1_434.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67237 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ยาสีฟันลดอาการเสียวฟัน
เรซินคอมโพสิต
แรง ยึดติดแบบเฉือน
สารยึดติด
spellingShingle ยาสีฟันลดอาการเสียวฟัน
เรซินคอมโพสิต
แรง ยึดติดแบบเฉือน
สารยึดติด
จิรัฏฐ์ ศรีหัตถจาติ
ปภาวดี ปัญจวัฒนคุณ
พลอยนภัส โล่หิรัญญานนท์
ธีรสุดา จินชัย
เพ็ญพิชชา นิตยารัมภ์พงศ์
พิชชาชัย เล็กสวัสดิ์
ผลของยาสีฟันลดอาการเสียวฟันต่อค่าแรงยึดติดแบบเฉือนระหว่างเนื้อฟันกับเรซินคอมโพสิต
description เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม
author จิรัฏฐ์ ศรีหัตถจาติ
ปภาวดี ปัญจวัฒนคุณ
พลอยนภัส โล่หิรัญญานนท์
ธีรสุดา จินชัย
เพ็ญพิชชา นิตยารัมภ์พงศ์
พิชชาชัย เล็กสวัสดิ์
author_facet จิรัฏฐ์ ศรีหัตถจาติ
ปภาวดี ปัญจวัฒนคุณ
พลอยนภัส โล่หิรัญญานนท์
ธีรสุดา จินชัย
เพ็ญพิชชา นิตยารัมภ์พงศ์
พิชชาชัย เล็กสวัสดิ์
author_sort จิรัฏฐ์ ศรีหัตถจาติ
title ผลของยาสีฟันลดอาการเสียวฟันต่อค่าแรงยึดติดแบบเฉือนระหว่างเนื้อฟันกับเรซินคอมโพสิต
title_short ผลของยาสีฟันลดอาการเสียวฟันต่อค่าแรงยึดติดแบบเฉือนระหว่างเนื้อฟันกับเรซินคอมโพสิต
title_full ผลของยาสีฟันลดอาการเสียวฟันต่อค่าแรงยึดติดแบบเฉือนระหว่างเนื้อฟันกับเรซินคอมโพสิต
title_fullStr ผลของยาสีฟันลดอาการเสียวฟันต่อค่าแรงยึดติดแบบเฉือนระหว่างเนื้อฟันกับเรซินคอมโพสิต
title_full_unstemmed ผลของยาสีฟันลดอาการเสียวฟันต่อค่าแรงยึดติดแบบเฉือนระหว่างเนื้อฟันกับเรซินคอมโพสิต
title_sort ผลของยาสีฟันลดอาการเสียวฟันต่อค่าแรงยึดติดแบบเฉือนระหว่างเนื้อฟันกับเรซินคอมโพสิต
publisher คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2560_38_1_434.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67237
_version_ 1681426597635162112