ปัจจัยทำนายการปฏิบัติป้องกันอาการชักในเด็กของผู้ดูแล

วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัด...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ณัฐนรี อนุกูลวรรธกะ, พัชราภรณ์ อารีย์, สุธิศา ล่ามช้าง
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/135572/101295
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67270
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67270
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-672702020-04-02T14:43:13Z ปัจจัยทำนายการปฏิบัติป้องกันอาการชักในเด็กของผู้ดูแล Factors Predicting Seizure Prevention Practices in Children Among Caregivers ณัฐนรี อนุกูลวรรธกะ พัชราภรณ์ อารีย์ สุธิศา ล่ามช้าง ผู้ดูแลเด็กที่มีอาการชัก การปฏิบัติป้องกันอาการชักในเด็ก การรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรม และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของผู้ดูแล วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ อาการชักในเด็กส่งผลต่อภาวะสุขภาพของเด็กและผู้ดูแล การปฏิบัติป้องกันของผู้ดูแลจะช่วยให้เด็กควบคุมอาการชักได้ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบหาความสัมพันธ์เชิงทำนายเพื่อศึกษาปัจจัยทำนายการรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรม และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของผู้ดูแลต่อการปฏิบัติป้องกันอาการชักในเด็กของผู้ดูแล กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลหลักของเด็กที่มีอาการชักอายุ 1 เดือน ถึง 6 ปี ที่เข้ารับการตรวจรักษาที่โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุ-เคราะห์ โรงพยาบาลลำปาง และโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจำนวน 74 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามความรุนแรงของโรคตามการรับรู้ของผู้ดูแล แบบสอบถามการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรม แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะแห่งตน และแบบสอบถามการปฏิบัติการป้องกันอาการชักในเด็กของผู้ดูแล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โดยใช้สถิติพรรณนา และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า ผู้ดูแลมีคะแนนการปฏิบัติป้องกันอาการชักในเด็กโดยรวมอยู่ในระดับสูง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 87.26 และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ผู้ดูแลมีคะแนนการปฏิบัติด้านการจัดการภาวะไข้ ด้านการใช้ยากันชักและติดตามการรักษา และด้านการดูแลกิจวัตรประจำวันทั่วไปอยู่ในระดับสูง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 26.32, 22.70 และ 11.56 ตามลำดับ ส่วนด้านการหลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้นอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 27.24. ผู้ดูแลมีคะแนนการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมอยู่ในระดับต่ำ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 39.64 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 11.47, คะแนนการรับรู้ความรุนแรงของโรคอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.28 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.00 และคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนอยู่ในระดับสูง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 107.24 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 14.33 การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรม และการรับรู้ความรุนแรงของโรค มีความสามารถในการร่วมกันทำนายการปฏิบัติการป้องกันอาการชักในเด็กได้ร้อยละ 46.0 (R2 = .460, p < .001) ผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการปฏิบัติป้องกันอาการชักในเด็ก และสามารถใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมการปฏิบัติป้องกันอาการชักในเด็กของผู้ดูแลต่อไป 2020-04-02T14:43:13Z 2020-04-02T14:43:13Z 2560 พยาบาลสาร 44, 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2560), 1-12 0125-5118 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/135572/101295 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67270 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ผู้ดูแลเด็กที่มีอาการชัก การปฏิบัติป้องกันอาการชักในเด็ก
การรับรู้ความรุนแรงของโรค
การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรม และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของผู้ดูแล
spellingShingle ผู้ดูแลเด็กที่มีอาการชัก การปฏิบัติป้องกันอาการชักในเด็ก
การรับรู้ความรุนแรงของโรค
การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรม และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของผู้ดูแล
ณัฐนรี อนุกูลวรรธกะ
พัชราภรณ์ อารีย์
สุธิศา ล่ามช้าง
ปัจจัยทำนายการปฏิบัติป้องกันอาการชักในเด็กของผู้ดูแล
description วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ
author ณัฐนรี อนุกูลวรรธกะ
พัชราภรณ์ อารีย์
สุธิศา ล่ามช้าง
author_facet ณัฐนรี อนุกูลวรรธกะ
พัชราภรณ์ อารีย์
สุธิศา ล่ามช้าง
author_sort ณัฐนรี อนุกูลวรรธกะ
title ปัจจัยทำนายการปฏิบัติป้องกันอาการชักในเด็กของผู้ดูแล
title_short ปัจจัยทำนายการปฏิบัติป้องกันอาการชักในเด็กของผู้ดูแล
title_full ปัจจัยทำนายการปฏิบัติป้องกันอาการชักในเด็กของผู้ดูแล
title_fullStr ปัจจัยทำนายการปฏิบัติป้องกันอาการชักในเด็กของผู้ดูแล
title_full_unstemmed ปัจจัยทำนายการปฏิบัติป้องกันอาการชักในเด็กของผู้ดูแล
title_sort ปัจจัยทำนายการปฏิบัติป้องกันอาการชักในเด็กของผู้ดูแล
publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/135572/101295
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67270
_version_ 1681426603815469056