การนวดเต้านมเพื่อส่งเสริมการสร้างและการหลั่งน้ำนม
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัด...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/135851/101459 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67288 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-67288 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-672882020-04-02T14:43:14Z การนวดเต้านมเพื่อส่งเสริมการสร้างและการหลั่งน้ำนม Breast Massage for Promoting Milk Production and Milk Ejection กฤษณา ปิงวงศ์ กรรณิการ์ กันธะรักษา การนวดเต้านม การสร้างและการหลั่งน้ำนม น้ำนมไหลน้อย วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ น้ำนมมารดามีสารอาหารที่ดีที่สุดสำหรับบุตรมีประโยชน์ต่อบุตรทั้งด้านร่างกายและจิตใจ อีกทั้งมีประโยชน์ต่อมารดาและสังคม แต่ยังพบว่ามีมารดาอีกจำนวนไม่น้อยที่ประสบกับปัญหาน้ำนมไหลน้อย (insufficient milk supply) ไม่เพียงพอต่อความต้องการของบุตร การนวดเต้านมจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการส่งเสริมการสร้างและการหลั่งน้ำนม โดยการนวดเต้านมช่วยกระตุ้นการทำงานของต่อมน้ำนม ส่งเสริมการไหลเวียนของระบบเลือดและน้ำเหลืองภายในเต้านม ส่งผลให้เพิ่มการไหลเวียนของเลือดมาที่ต่อมน้ำนมและกระตุ้นกระบวนการสร้างน้ำนม รวมทั้งส่งเสริมการระบายน้ำนม โดยกระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนออกซิโตซิน ทำให้เกิดปฏิกิริยาเล็ตดาวน์ (let-down reflex) สำหรับวิธีการนวดเต้านมจากการทบทวนวรรณกรรมพบว่ามี 3 วิธี ได้แก่ การนวดเต้านมด้วยวิธีโอคิตานิ (Oketani) การนวดเต้านมด้วยท่าพื้นฐาน 6 ท่า และการนวดหัวนมและเต้านมด้วยวิธี Self Mamma Control Method (SMC) การนวดเต้านมทำให้เต้านม และลานนมนิ่ม ทารกสามารถอมหัวนมได้ถึงลานนม ทำให้การดูดนมมีประสิทธิภาพ เป็นการกระตุ้นให้ฮอร์โมนโปรแลคตินสร้างน้ำนมอย่างต่อเนื่อง มารดาเกิดความรู้สึกมั่นใจว่าทารกได้รับน้ำนมอย่างเพียงพอ เป็นการเพิ่มอัตราการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา 2020-04-02T14:43:14Z 2020-04-02T14:43:14Z 2560 พยาบาลสาร 44, 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2560), 169-176 0125-5118 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/135851/101459 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67288 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
การนวดเต้านม การสร้างและการหลั่งน้ำนม น้ำนมไหลน้อย |
spellingShingle |
การนวดเต้านม การสร้างและการหลั่งน้ำนม น้ำนมไหลน้อย กฤษณา ปิงวงศ์ กรรณิการ์ กันธะรักษา การนวดเต้านมเพื่อส่งเสริมการสร้างและการหลั่งน้ำนม |
description |
วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ |
author |
กฤษณา ปิงวงศ์ กรรณิการ์ กันธะรักษา |
author_facet |
กฤษณา ปิงวงศ์ กรรณิการ์ กันธะรักษา |
author_sort |
กฤษณา ปิงวงศ์ |
title |
การนวดเต้านมเพื่อส่งเสริมการสร้างและการหลั่งน้ำนม |
title_short |
การนวดเต้านมเพื่อส่งเสริมการสร้างและการหลั่งน้ำนม |
title_full |
การนวดเต้านมเพื่อส่งเสริมการสร้างและการหลั่งน้ำนม |
title_fullStr |
การนวดเต้านมเพื่อส่งเสริมการสร้างและการหลั่งน้ำนม |
title_full_unstemmed |
การนวดเต้านมเพื่อส่งเสริมการสร้างและการหลั่งน้ำนม |
title_sort |
การนวดเต้านมเพื่อส่งเสริมการสร้างและการหลั่งน้ำนม |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/135851/101459 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67288 |
_version_ |
1681426607168815104 |