ผลของด้านสัมผัสบริเวณด้านประชิดต่อแรงที่เกิดขึ้นบนรากเทียมรองรับฟันเทียมชนิดคานยื่น 2 หน่วย

เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ภัทรณัฏฐ์ บัณฑิตคุณานนต์, ชาย รังสิยากูล, ทิวสน สายสีนพคุณ, พิมพ์เดือน รังสิยากูล
Language:Tha
Published: คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2560_38_3_465.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67297
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67297
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-672972020-04-02T14:43:14Z ผลของด้านสัมผัสบริเวณด้านประชิดต่อแรงที่เกิดขึ้นบนรากเทียมรองรับฟันเทียมชนิดคานยื่น 2 หน่วย Effect of Interproximal Contact on Load Transfer by Implant-supported 2-unit Cantilevered Prostheses ภัทรณัฏฐ์ บัณฑิตคุณานนต์ ชาย รังสิยากูล ทิวสน สายสีนพคุณ พิมพ์เดือน รังสิยากูล รากฟันเทียม คานยื่น สเตรนเกจ บริเวณสัมผัส ด้านประชิด เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาถึงผลของการสัมผัสบริเวณด้านประชิดกับแรงที่เกิดขึ้นบนรากเทียมรองรับฟันเทียมติดแน่นชนิดคานยื่น 2 หน่วย วัสดุและอุปกรณ์: เตรียมชิ้นงานโดยการฝังรากเทียม (Brånemark system® Mk III TiUnite® , Nobel Biocare, Sweden) ขนาดยาว 10 มิลลิเมตร 2 ตัวในแท่งเรซินอะคริลิกเสมือนเป็นแท่งกระดูกโดยวางตั้งฉากในตำแหน่งฟันกรามน้อยซี่ที่หนึ่งและฟันกรามซี่ที่หนึ่ง ทำการติดสเตรนเกจ (model C2A-13-031 WW-350, Vishay Micro-Measurements Group Inc., Raleigh, North Carolina) ที่บริเวณตำแหน่งยอดสันกระดูกด้านใกล้กลางและไกลกลางของรากเทียมซี่กรามน้อยซี่ที่หนึ่ง จากนั้น ทำการทดสอบชิ้นงานด้วยเครื่องทดสอบสากล (UTM.,Instron 5566; MA, U.S.A.) โดยใช้ แรงกดแนวดิ่งขนาด 200 นิวตันที่ตำแหน่งห่างจากจุดศูนย์กลางของรากเทียมซี่กรามน้อยที่หนึ่งทางด้านไกลกลาง 10 มิลลิเมตร แบ่ง รูปแบบการสัมผัสบริเวณด้านประชิดของสิ่งบูรณะบนรากเทียมออกเป็น 4 รูปแบบคือ 1) ไม่มีด้านประชิดหรือฟันเทียมชนิดคานยื่น 2) มีด้านประชิดสัมผัสขนาด 1x1 ตารางมิลลิเมตร 3) มีด้านประชิดสัมผัสขนาด 3x3 ตารางมิลลิเมตร 4) ยึดสิ่งประดิษฐ์เป็นชิ้นเดียวกัน จากนั้นนำค่าความเครียดมาวิเคราะห์และคำนวณ เพื่อหาค่าแรงเครียดสูงสุดที่เกิดขึ้นในแต่ละรูปแบบซึ่งจะนำค่าที่ได้มาทดสอบด้วยสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวโดยพิจารณาจากระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ผลการศึกษา: พบว่าค่าเฉลี่ยของความเครียดสูงสุดมีค่าต่ำสุดในกลุ่มที่มีการเชื่อมติดกันบริเวณด้านประชิดและมีค่าสูงสุดในกลุ่มที่ไม่มีด้านประชิด ส่วนความเครียดสูงสุดที่เกิดขึ้นในกลุ่มที่มีด้านประชิดสัมผัสขนาด 1x1 ตารางมิลลิเมตรและกลุ่มที่มีด้านประชิดสัมผัสขนาด 3x3 ตารางมิลลิเมตร ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญนอกจากนี้ยังพบว่าความเครียดสูงสุดบริเวณด้านไกลกลางของรากเทียมมีค่ามากกว่าบริเวณด้านใกล้กลางในทุกกลุ่มยกเว้นกลุ่มที่มีการเชื่อมติดกันของด้านประชิด (p – value < 0.05) บทสรุป: พบการกระจายแรงที่ดีที่สุดในกลุ่มฟันเทียมติดแน่นบนรากเทียมที่มีการเชื่อมติดกันบริเวณด้านประชิด และขนาดของพื้นที่สัมผัสด้านประชิดไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงค่าความเครียดสูงสุด 2020-04-02T14:43:14Z 2020-04-02T14:43:14Z 2560 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 38,3 (ก.ย.-ธ.ค. 2560) 110-121 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2560_38_3_465.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67297 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic รากฟันเทียม
คานยื่น
สเตรนเกจ
บริเวณสัมผัส
ด้านประชิด
spellingShingle รากฟันเทียม
คานยื่น
สเตรนเกจ
บริเวณสัมผัส
ด้านประชิด
ภัทรณัฏฐ์ บัณฑิตคุณานนต์
ชาย รังสิยากูล
ทิวสน สายสีนพคุณ
พิมพ์เดือน รังสิยากูล
ผลของด้านสัมผัสบริเวณด้านประชิดต่อแรงที่เกิดขึ้นบนรากเทียมรองรับฟันเทียมชนิดคานยื่น 2 หน่วย
description เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม
author ภัทรณัฏฐ์ บัณฑิตคุณานนต์
ชาย รังสิยากูล
ทิวสน สายสีนพคุณ
พิมพ์เดือน รังสิยากูล
author_facet ภัทรณัฏฐ์ บัณฑิตคุณานนต์
ชาย รังสิยากูล
ทิวสน สายสีนพคุณ
พิมพ์เดือน รังสิยากูล
author_sort ภัทรณัฏฐ์ บัณฑิตคุณานนต์
title ผลของด้านสัมผัสบริเวณด้านประชิดต่อแรงที่เกิดขึ้นบนรากเทียมรองรับฟันเทียมชนิดคานยื่น 2 หน่วย
title_short ผลของด้านสัมผัสบริเวณด้านประชิดต่อแรงที่เกิดขึ้นบนรากเทียมรองรับฟันเทียมชนิดคานยื่น 2 หน่วย
title_full ผลของด้านสัมผัสบริเวณด้านประชิดต่อแรงที่เกิดขึ้นบนรากเทียมรองรับฟันเทียมชนิดคานยื่น 2 หน่วย
title_fullStr ผลของด้านสัมผัสบริเวณด้านประชิดต่อแรงที่เกิดขึ้นบนรากเทียมรองรับฟันเทียมชนิดคานยื่น 2 หน่วย
title_full_unstemmed ผลของด้านสัมผัสบริเวณด้านประชิดต่อแรงที่เกิดขึ้นบนรากเทียมรองรับฟันเทียมชนิดคานยื่น 2 หน่วย
title_sort ผลของด้านสัมผัสบริเวณด้านประชิดต่อแรงที่เกิดขึ้นบนรากเทียมรองรับฟันเทียมชนิดคานยื่น 2 หน่วย
publisher คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2560_38_3_465.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67297
_version_ 1681426608868556800