ความเสถียรของรากฟันเทียมแบบเกลียว 3 รูปแบบในช่วงระยะเวลาการหายของเนื้อเยื่อ ศึกษาทางคลินิกโดยใช้วิธีการวัดการสั่นพ้องของคลื่นเสียง
เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext____448.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67308 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-67308 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-673082020-04-02T14:43:14Z ความเสถียรของรากฟันเทียมแบบเกลียว 3 รูปแบบในช่วงระยะเวลาการหายของเนื้อเยื่อ ศึกษาทางคลินิกโดยใช้วิธีการวัดการสั่นพ้องของคลื่นเสียง The stability of Three-thread-design dental implants during the healing period. A clinical study using resonance frequency analysis method โชคนภา ติรชัยมงคล ปฐวี คงขุนเทียน การเกิดกระดูกเชื่อมประสานกับรากฟันเทียม รากเทียม ความเสถียรของรากเทียม การวิเคราะห์ด้วยคลื่น ความถี่เรโซแนนซ การศึกษาทางคลินิก เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม การรักษาด้วยรากฟันเทียมในปัจจุบันมีอัตราความสำเร็จสูง เมื่อทำการบูรณะในสภาวะที่เหมาะสม ความเสถียรปฐมภูมิ (primary implant stability) เป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลให้เกิดกระดูกเชื่อมประสานกับรากฟันเทียม (osseointegration) และเมื่อเกิดกระดูกเชื่อมประสานกับรากฟันเทียมในช่วงเวลาการหายของเนื้อเยื่อ จึงเกิดเป็นความเสถียรทุติยภูมิ (secondary implant stability) ขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดความเสถียรเริ่มแรกของรากฟันเทียมแบบเกลียวสามรูปแบบ และติดตามความเสถียรของรากฟันเทียมต่อเนื่องในช่วงระยะเวลาการหายของเนื้อเยื่อเป็นเวลา 3 เดือน ด้วยวิธีการวัดการสั่นพ้องของคลื่นเสียง วิธีการศึกษา ทำการฝังรากฟันเทียมระบบPW Plus จำนวน 16 รากในผู้ป่วย 12 รายทดแทนซี่ฟันในบริเวณฟันกรามหลังขากรรไกรล่าง ทำการวัดความเสถียรของรากฟันเทียมด้วยวิธีการวัดการสั่นพ้องของคลื่นเสียงทันทีหลังการฝัง และติดตามความเสถียรของรากฟันเทียมที่สัปดาห์ที่ 1, 2, 3, 4, 6, 8, 10, 12 ผลการศึกษาพบว่าค่าเฉลี่ย ISQ หลังฝังทันทีคือ 77.2±0.93 ค่าเฉลี่ย ISQ ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.05) ในสัปดาห์แรกหลังการผ่าตัด หลังจากนั้นในสัปดาห์ที่สองค่าเฉลี่ย ISQ จะมีค่าสูงขึ้นตามลำดับ ตลอดระยะเวลา 3 เดือนของการศึกษาค่าเฉลี่ยความเสถียรของรากฟันเทียมคงอยู่ในระดับสูง (ค่า ISQ ≥ 65) ภายใต้ข้อจำกัดของการศึกษานี้ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่ารากฟันเทียมระบบ PW Plus ซึ่งตัวรากเทียมมีรูปแบบเกลียว 3 รูปแบบนั้น มีค่าความเสถียรอยู่ในระดับสูงตลอดระยะเวลาการหายของแผล 2020-04-02T14:43:14Z 2020-04-02T14:43:14Z 2560 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 38,2 (พ.ค.-ส.ค. 2560) 65-73 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext____448.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67308 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
การเกิดกระดูกเชื่อมประสานกับรากฟันเทียม รากเทียม ความเสถียรของรากเทียม การวิเคราะห์ด้วยคลื่น ความถี่เรโซแนนซ การศึกษาทางคลินิก |
spellingShingle |
การเกิดกระดูกเชื่อมประสานกับรากฟันเทียม รากเทียม ความเสถียรของรากเทียม การวิเคราะห์ด้วยคลื่น ความถี่เรโซแนนซ การศึกษาทางคลินิก โชคนภา ติรชัยมงคล ปฐวี คงขุนเทียน ความเสถียรของรากฟันเทียมแบบเกลียว 3 รูปแบบในช่วงระยะเวลาการหายของเนื้อเยื่อ ศึกษาทางคลินิกโดยใช้วิธีการวัดการสั่นพ้องของคลื่นเสียง |
description |
เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม |
author |
โชคนภา ติรชัยมงคล ปฐวี คงขุนเทียน |
author_facet |
โชคนภา ติรชัยมงคล ปฐวี คงขุนเทียน |
author_sort |
โชคนภา ติรชัยมงคล |
title |
ความเสถียรของรากฟันเทียมแบบเกลียว 3 รูปแบบในช่วงระยะเวลาการหายของเนื้อเยื่อ ศึกษาทางคลินิกโดยใช้วิธีการวัดการสั่นพ้องของคลื่นเสียง |
title_short |
ความเสถียรของรากฟันเทียมแบบเกลียว 3 รูปแบบในช่วงระยะเวลาการหายของเนื้อเยื่อ ศึกษาทางคลินิกโดยใช้วิธีการวัดการสั่นพ้องของคลื่นเสียง |
title_full |
ความเสถียรของรากฟันเทียมแบบเกลียว 3 รูปแบบในช่วงระยะเวลาการหายของเนื้อเยื่อ ศึกษาทางคลินิกโดยใช้วิธีการวัดการสั่นพ้องของคลื่นเสียง |
title_fullStr |
ความเสถียรของรากฟันเทียมแบบเกลียว 3 รูปแบบในช่วงระยะเวลาการหายของเนื้อเยื่อ ศึกษาทางคลินิกโดยใช้วิธีการวัดการสั่นพ้องของคลื่นเสียง |
title_full_unstemmed |
ความเสถียรของรากฟันเทียมแบบเกลียว 3 รูปแบบในช่วงระยะเวลาการหายของเนื้อเยื่อ ศึกษาทางคลินิกโดยใช้วิธีการวัดการสั่นพ้องของคลื่นเสียง |
title_sort |
ความเสถียรของรากฟันเทียมแบบเกลียว 3 รูปแบบในช่วงระยะเวลาการหายของเนื้อเยื่อ ศึกษาทางคลินิกโดยใช้วิธีการวัดการสั่นพ้องของคลื่นเสียง |
publisher |
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext____448.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67308 |
_version_ |
1681426610911182848 |