ผลของสารคู่ควบไซเลนในสารยึดติดยูนิเวอร์แซลต่อความแข็งแรงยึดเฉือน ระหว่างเรซินคอมโพสิตกับลิเทียมไดซิลิเกต

เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ชุติมา สุขประภาภรณ์, ภาวิศุทธิ แก่นจันทร์
Language:Tha
Published: คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext____452.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67309
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67309
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-673092020-04-02T14:43:14Z ผลของสารคู่ควบไซเลนในสารยึดติดยูนิเวอร์แซลต่อความแข็งแรงยึดเฉือน ระหว่างเรซินคอมโพสิตกับลิเทียมไดซิลิเกต Effect of Silane Coupling Agent in Universal Adhesive Agent on Shear Bond Strength between Resin Composite and Lithium Disilicate ชุติมา สุขประภาภรณ์ ภาวิศุทธิ แก่นจันทร์ สารคู่ควบไซเลน สารยึดติดยูนิเวอร์แซล ความ แข็งแรงยึดเฉือน ลิเทียมไดซิลิเกต เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาค่าความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างเรซินคอมโพสิตกับเซรามิกส์ชนิดลิเทียมไดซิลิเกต เมื่อใช้สารยึดติดซิงเกิลบอนด์ยูนิเวอร์แซลทั้งที่ใช้และไม่ใช้ร่วมกับสารคู่ควบไซเลนร่วมกับการทำเทอร์โมไซคลิง วิธีการวิจัย: สร้างชิ้นงานเซรามิกส์ชนิดลิเทียมไดซิลิเกตรูปร่างทรงกระบอกจำนวน 150 ชิ้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 มิลลิเมตร หนา 2 มิลลิเมตร ทำการปรับสภาพพื้นผิวเซรามิกส์ด้วยกรดไฮโดรฟลูออริก ความเข้มข้นร้อยละ 4.9 นาน 20 วินาที ล้างน้ำ 20 วินาที เป่าแห้ง แบ่งกลุ่มทดลองเป็น 5 กลุ่ม (n=30) กลุ่มที่ 1 (กลุ่มควบคุม) ทาสารคู่ควบไซเลนรีไลย์เอ็กซ์เซรามิกส์ไพรเมอร์และสารยึดติดสก็อตช์บอนด์มัลติเพอร์โพส (HF+S+SBMP) กลุ่มที่ 2 ทาสารยึดติดสก็อตช์บอนด์มัลติเพอร์โพส (HF+SBMP) กลุ่มที่ 3 ทาสารคู่ควบไซเลนรีไลย์เอ็กซ์-เซรามิกส์ไพรเมอร์และสารยึดติดซิงเกิลบอนด์ยูนิเวอร์แซล (HF+S+SBU) กลุ่มที่ 4 ทาสารยึดติดซิงเกิลบอนด์ยูนิเวอร์แซลเป็นเวลา 20 วินาที (HF+SBU20) และกลุ่มที่ 5 ทาสารยึดติดซิงเกิลบอนด์ยูนิเวอร์แซลเป็นเวลา 60 วินาที (HF+SBU60) อุดเรซินคอมโพสิตลงบนชิ้นทดสอบแต่ละชิ้น 1 ตำแหน่ง เส้นผ่านศูนย์กลาง 3 มิลลิเมตรสูง 2 มิลลิเมตร นำตัวอย่างทั้ง 5 กลุ่ม แบ่งเป็นกลุ่มย่อยอีก 2 กลุ่ม (n=15) กลุ่มที่ 1 นำไปแช่น้ำกลั่นที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง กลุ่มที่ 2 นำไปผ่านเทอร์โมไซคลิงจำนวน 5,000 รอบ จากนั้นนำไปทดสอบค่าความแข็งแรงยึดเฉือนโดยใช้เครื่องทดสอบสากลอินสตรอนด้วยความเร็วหัวกด 0.5 มิลลิเมตรต่อนาที จนแท่งเรซินคอมโพสิตหลุด นำค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดเฉือนที่ได้ไปวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทางและความแปรปรวนทางเดียว ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 (p<0.05) โดยใช้สถิติเปรียบเทียบเชิงซ้อนชนิดทูกีย์และจำแนกพื้นผิวการแตกหักของแต่ละตัวอย่างด้วยกล้องจุลทรรศน์ชนิดหัวกลับ ผลการศึกษา: เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่ใช้วิธีการเตรียมผิวเซรามิกส์ชนิดลิเทียมไดซิลิเกตที่แตกต่างกันพบว่ากลุ่ม HF+S+SBU มีค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดเฉือนสูงที่สุด แต่ไม่แตกต่างกับกลุ่ม HF+S+SBMP ซึ่งทั้งสองกลุ่มมีค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดเฉือนสูงกว่ากลุ่ม HF+SBU20, HF+SBU60 และกลุ่ม HF+SBMP อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยกลุ่ม HF+SBU20 และกลุ่ม HF+SBU60 มีค่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ พบว่ากลุ่มการทดลองที่ผ่านการทำเทอร์โมไซคลิงจำนวน 5,000 รอบ มีค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดเฉือนลดลง เมื่อเทียบกับกลุ่มที่แช่น้ำเป็นระยะเวลา 24 ชั่วโมงโดยเฉพาะกลุ่มที่ไม่ใช้ร่วมกับสารคู่ควบไซเลนแบบแยกขวดลักษณะพื้นผิวการแตกหักส่วนใหญ่ที่พบเป็นความล้มเหลวของการยึดติด สรุปผลการศึกษา: การใช้สารยึดติดซิงเกิลบอนด์ยูนิเวอร์แซลที่มีส่วนประกอบของสารคู่ควบไซเลน สามารถเพิ่มค่าความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างเรซินคอมโพสิตกับเซรามิกส์ชนิดลิเทียมไดซิลิเกตได้ แต่ค่าความแข็งแรงยึดเฉือนที่ได้มีค่าน้อยกว่าการใช้สารยึดติดซิงเกิลบอนด์ยูนิเวอร์แซลร่วมกับสารคู่ควบไซเลน และค่าความแข็งแรงยึดเฉือนมีค่าลดลงในทุกกลุ่มการทดลองเมื่อผ่านเทอร์โมไซคลิง 5,000 รอบ 2020-04-02T14:43:14Z 2020-04-02T14:43:14Z 2560 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 38,2 (พ.ค.-ส.ค. 2560) 111-126 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext____452.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67309 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic สารคู่ควบไซเลน
สารยึดติดยูนิเวอร์แซล
ความ แข็งแรงยึดเฉือน
ลิเทียมไดซิลิเกต
spellingShingle สารคู่ควบไซเลน
สารยึดติดยูนิเวอร์แซล
ความ แข็งแรงยึดเฉือน
ลิเทียมไดซิลิเกต
ชุติมา สุขประภาภรณ์
ภาวิศุทธิ แก่นจันทร์
ผลของสารคู่ควบไซเลนในสารยึดติดยูนิเวอร์แซลต่อความแข็งแรงยึดเฉือน ระหว่างเรซินคอมโพสิตกับลิเทียมไดซิลิเกต
description เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม
author ชุติมา สุขประภาภรณ์
ภาวิศุทธิ แก่นจันทร์
author_facet ชุติมา สุขประภาภรณ์
ภาวิศุทธิ แก่นจันทร์
author_sort ชุติมา สุขประภาภรณ์
title ผลของสารคู่ควบไซเลนในสารยึดติดยูนิเวอร์แซลต่อความแข็งแรงยึดเฉือน ระหว่างเรซินคอมโพสิตกับลิเทียมไดซิลิเกต
title_short ผลของสารคู่ควบไซเลนในสารยึดติดยูนิเวอร์แซลต่อความแข็งแรงยึดเฉือน ระหว่างเรซินคอมโพสิตกับลิเทียมไดซิลิเกต
title_full ผลของสารคู่ควบไซเลนในสารยึดติดยูนิเวอร์แซลต่อความแข็งแรงยึดเฉือน ระหว่างเรซินคอมโพสิตกับลิเทียมไดซิลิเกต
title_fullStr ผลของสารคู่ควบไซเลนในสารยึดติดยูนิเวอร์แซลต่อความแข็งแรงยึดเฉือน ระหว่างเรซินคอมโพสิตกับลิเทียมไดซิลิเกต
title_full_unstemmed ผลของสารคู่ควบไซเลนในสารยึดติดยูนิเวอร์แซลต่อความแข็งแรงยึดเฉือน ระหว่างเรซินคอมโพสิตกับลิเทียมไดซิลิเกต
title_sort ผลของสารคู่ควบไซเลนในสารยึดติดยูนิเวอร์แซลต่อความแข็งแรงยึดเฉือน ระหว่างเรซินคอมโพสิตกับลิเทียมไดซิลิเกต
publisher คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext____452.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67309
_version_ 1681426611096780800