ผลของสารกระตุ้นปฏิกิริยาที่ปราศจากแสงในเรซินซีเมนต์ต่อความแข็งแรงยึดเฉือนของสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์

เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ศิวพร ศุภประภาวณิชย์, ภาวิศุทธิ แก่นจันทร์, วีรนุช ทองงาม
Language:Tha
Published: คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2560_38_1_428.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67318
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67318
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-673182020-04-02T14:43:17Z ผลของสารกระตุ้นปฏิกิริยาที่ปราศจากแสงในเรซินซีเมนต์ต่อความแข็งแรงยึดเฉือนของสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์ Effect of Dark Cure Activators in Resin Cements on Shear Bond Strength of Self-etch Adhesives ศิวพร ศุภประภาวณิชย์ ภาวิศุทธิ แก่นจันทร์ วีรนุช ทองงาม สารกระตุ้นปฏิกิริยาที่ปราศจากแสง เรซินซีเมนต์ สารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์ ความแข็งแรงยึดเฉือน เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาถึงประสิทธิภาพของสารกระตุ้นปฏิกิริยาที่ปราศจากแสงในเรซินซีเมนต์ต่อค่าความแข็งแรงยึดเฉือนของเรซินซีเมนต์ที่ใช้ร่วมกับสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์กับเนื้อฟัน เมื่อใช้ร่วมกับวัสดุบูรณะที่ทึบแสงหรือแสงผ่านได้บางส่วน วิธีการวิจัย: นำฟันกรามแท้ซี่ที่สามของมนุษย์ตัดผิวฟันให้เนื้อฟันเผยผึ่งเป็นระนาบ สุ่มแบ่งชิ้นทดสอบเป็น 9 กลุ่ม กลุ่มที่ 1, 2 และ 3 ใช้รีไลย์เอ็กซ์อัลติเมตเรซินซีเมนต์ร่วมกับซิงเกิลบอนด์ยูนิเวอร์แซลแอดฮีซีฟ (RXU+SBU) กลุ่มที่ 4, 5 และ 6 ใช้เนกซัสทรีเรซินซีเมนต์ร่วมกับออฟติบอนด์เอ็กซ์ทีอาร์ (NX3+XTR) กลุ่มที่ 7, 8 และ 9 ใช้เนกซัสทรีเรซินซีเมนต์ร่วมกับออฟติบอนด์ ออลอินวัน (NX3+AIO) โดยกลุ่มที่ 1, 4 และ 7 ยึดแท่งเรซินคอมโพสิตโปร่งแสงด้วยเรซินซีเมนต์แต่ละชนิดบนเนื้อฟัน ฉาย แสง 5 ด้าน ด้านละ 20 วินาที กลุ่มที่ 2, 5 และ 8 ยึดแท่งเรซินคอมโพสิตทึบแสงด้วยเรซินซีเมนต์ ฉายแสงด้านบนแท่งเรซินคอมโพสิตทึบแสง 20 วินาที ทิ้งไว้ในกล่องทึบแสงนาน 6 นาที ส่วนกลุ่มที่ 3, 6 และ 9 ยึดแท่งเรซินคอมโพสิตทึบแสงด้วยเรซินซีเมนต์ ไม่ฉายแสงแต่ทิ้งไว้ในกล่องทึบแสงนาน 6 นาที นำชิ้นงานทั้งหมดแช่ในน้ำกลั่นอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง จากนั้นนำชิ้นทดสอบกลุ่มละ 15 ชิ้นทดสอบไปหาค่าความแข็งแรงยึดเฉือน ผลการศึกษา: ค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดเฉือนในกลุ่มที่ทำการยึดติดด้วยเรซินซีเมนต์ และได้รับการฉายแสงทั้ง 5 ด้านมีค่าสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการฉายแสงบางส่วนอย่างมีนัยสำคัญ ค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดเฉือนของกลุ่มที่ไม่ได้รับการฉายแสงมีค่าต่ำสุด (p<0.05) โดยกลุ่มที่ได้รับการฉายแสง กลุ่ม RXU+SBU มีค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดเฉือนมากกว่ากลุ่ม NX3+XTR และกลุ่ม NX3+AIO แต่กลุ่มที่ไม่ได้รับการฉายแสงไม่มีความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดเฉือนในเรซินซีเมนต์ทั้ง 3 กลุ่ม สรุปผลการศึกษา: ค่าเฉลี่ยความแข็งแรงยึดเฉือนที่ได้จากการใช้สารยึดติดร่วมกับเรซินซีเมนต์ หากไม่มีการฉายแสงเพื่อเริ่มต้นปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันมีค่าต่ำมากสารกระตุ้นปฏิกิริยาที่ปราศจากแสงในเรซินซีเมนต์อาจไม่สามารถทำให้สารยึดติดเกิดพอลิเมอร์ไรเซชันที่สมบูรณ์ได้ 2020-04-02T14:43:17Z 2020-04-02T14:43:17Z 2560 เชียงใหม่ทันตแพทยสาร 38,1 (ม.ค.-เม.ย. 2560) 49-62 0857-6920 http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2560_38_1_428.pdf http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67318 Tha คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic สารกระตุ้นปฏิกิริยาที่ปราศจากแสง
เรซินซีเมนต์
สารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์
ความแข็งแรงยึดเฉือน
spellingShingle สารกระตุ้นปฏิกิริยาที่ปราศจากแสง
เรซินซีเมนต์
สารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์
ความแข็งแรงยึดเฉือน
ศิวพร ศุภประภาวณิชย์
ภาวิศุทธิ แก่นจันทร์
วีรนุช ทองงาม
ผลของสารกระตุ้นปฏิกิริยาที่ปราศจากแสงในเรซินซีเมนต์ต่อความแข็งแรงยึดเฉือนของสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์
description เชียงใหม่ทันตแพทยสาร เป็นวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดทำขึ้นโดย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีขอบข่ายและวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมบทวิทยาการที่เป็นงานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์ บทความปริทัศน์ รายงานผู้ป่วย และบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทันตกรรมทุกสาขา ที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองมาแล้วจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งนี้เนื้อหาของบทความสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งการปฏิบัติงานในคลินิกและชุมชน รวมถึงนำไปต่อยอดสำหรับการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ทางทันตกรรมต่อไป โดยมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 3 ครั้ง คือ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน, พฤษภาคม – สิงหาคม และ กันยายน – ธันวาคม
author ศิวพร ศุภประภาวณิชย์
ภาวิศุทธิ แก่นจันทร์
วีรนุช ทองงาม
author_facet ศิวพร ศุภประภาวณิชย์
ภาวิศุทธิ แก่นจันทร์
วีรนุช ทองงาม
author_sort ศิวพร ศุภประภาวณิชย์
title ผลของสารกระตุ้นปฏิกิริยาที่ปราศจากแสงในเรซินซีเมนต์ต่อความแข็งแรงยึดเฉือนของสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์
title_short ผลของสารกระตุ้นปฏิกิริยาที่ปราศจากแสงในเรซินซีเมนต์ต่อความแข็งแรงยึดเฉือนของสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์
title_full ผลของสารกระตุ้นปฏิกิริยาที่ปราศจากแสงในเรซินซีเมนต์ต่อความแข็งแรงยึดเฉือนของสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์
title_fullStr ผลของสารกระตุ้นปฏิกิริยาที่ปราศจากแสงในเรซินซีเมนต์ต่อความแข็งแรงยึดเฉือนของสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์
title_full_unstemmed ผลของสารกระตุ้นปฏิกิริยาที่ปราศจากแสงในเรซินซีเมนต์ต่อความแข็งแรงยึดเฉือนของสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์
title_sort ผลของสารกระตุ้นปฏิกิริยาที่ปราศจากแสงในเรซินซีเมนต์ต่อความแข็งแรงยึดเฉือนของสารยึดติดระบบเซลฟ์เอตช์
publisher คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url http://web1.dent.cmu.ac.th/cmdj/fulltext/fulltext_2560_38_1_428.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67318
_version_ 1681426612797571072