การพัฒนา “กระติ๊บข้าว” สำหรับควบคุมปริมาณการบริโภคในผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิ...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/218536/151360 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67417 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-67417 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-674172020-04-02T14:46:49Z การพัฒนา “กระติ๊บข้าว” สำหรับควบคุมปริมาณการบริโภคในผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน Development of “Kratib Kao” for Controlling Food Consumption for Persons with Diabetes ศิริรัตน์ ปานอุทัย จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช ชมพูนุท ศรีรัตน์ นิพนธ์ ธีรอำพน กระติ๊บข้าว การบริโภคอาหาร ข้าวเหนียว ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานจำเป็นต้องควบคุมการบริโภคข้าวอย่างเหมาะสมเพื่อช่วยการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด อุปกรณ์ช่วยการกำหนดปริมาณการบริโภคข้าวจะช่วยให้ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมปริมาณการบริโภคข้าวได้ การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระติ๊บข้าวสำหรับควบคุมปริมาณการบริโภคข้าวในผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้กระติ๊บในการควบคุมปริมาณการบริโภคข้าว กลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งสิ้น 20 ราย ที่อาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่และพะเยา โดยแบ่งออกเป็น 2 ระยะการศึกษา ได้แก่ ระยะที่ 1 เพื่อศึกษาปัญหาและความต้องการในการควบคุมระดับน้ำตาลด้วยกระติ๊บในผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ด้วยวิธีการสนทนากลุ่ม 2 กลุ่มๆ ละ 6 คน จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 12 คน และการพัฒนากระติ๊บโดยนำข้อมูลจากการวิเคราะห์มาประกอบการพัฒนา ระยะที่ 2 เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้กระติ๊บข้าวในการควบคุมปริมาณการบริโภคข้าว โดยศึกษาในกลุ่มตัวอย่างจำนวน 8 ราย การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างทั้งสองระยะแบบสะดวกตามเกณฑ์ที่กำหนด คือฮีโมโกลบินเอวันซีมากกว่า 7% หรือน้ำตาลหลังอดอาหารและน้ำมากกว่า130 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร และรับประทานข้าวเหนียวอย่างน้อย 1 มื้อต่อวัน กลุ่มตัวอย่างได้รับการสอนเกี่ยวกับแนวทางการใช้กระติ๊บเพื่อควบคุมปริมาณการบริโภคข้าว และแนวทางการควบคุมปริมาณการบริโภคข้าวและใช้กระติ๊บเพื่อควบคุมปริมาณการบริโภคข้าวเป็นระยะเวลา 1 เดือน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ เครื่องมือที่ใช้ทดลอง ประกอบด้วยกระติ๊บข้าว และเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 2) แนวคำถามสำหรับการสนทนากลุ่ม 3) แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้กระติ๊บ 4) แบบบันทึกการบริโภคอาหาร 7 วัน และ 5) โปรแกรมนิวตริแฟกเพื่อคำนวณพลังงานจากอาหาร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาผลการศึกษาพบว่า กระติ๊บที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วยสองส่วนคือ ตัวกระติ๊บสำหรับบรรจุข้าวเจ้าหรือข้าวเหนียวและตัวเครื่องที่มี ปุ่มปิด-เปิด ปุ่มเลือกชนิดข้าว ปุ่มหมุนเลือกมื้อข้าว ปุ่มบันทึกข้อมูลลงเครื่องจอแสดงผล ฐานวางกระติ๊บ ช่องชาร์ตแบตเตอรี่ และช่องใส่การ์ดเก็บข้อมูล ภายหลังการทดลองพบว่าปริมาณพลังงานที่ได้จากการบริโภคคาร์โบไฮเดรต ลดลงจากวันละ 783.69 กิโลแคลอรี่หรือร้อยละ 49.28 เป็น 568.42กิโลแคลอรี่หรือร้อยละ 35.73 ของพลังงานที่ได้รับทั้งหมดต่อวัน ส่วนปริมาณข้าวที่บริโภคลดลง โดยข้าวเหนียวบริโภคเฉลี่ยต่อมื้อลดลงจาก 255.59 กิโลแคลอรี่เป็น 203.61 กิโลแคลอรี่ ส่วนข้าวเจ้าลดลงจาก 363 กิโลแคลอรี่เป็น 131.84 กิโลแคลอรี่ โดยกลุ่มตัวอย่างได้รับพลังงานจากการบริโภคข้าวมื้อเย็นลดลงจาก294.02 กิโลแคลอรี่ เป็น 198.48 กิโลแคลอรี่ กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการใช้กระติ๊บเนื่องจากมีการป้อนข้อมูลกลับทันทีทำให้กำหนดปริมาณการบริโภคข้าวในแต่ละมื้อได้ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า กระติ๊บที่พัฒนาขึ้นสามารถช่วยผู้ที่เป็นโรคเบาหวานควบคุมปริมาณการบริโภคข้าวได้ ดังนั้นจึงควรมีการศึกษาประสิทธิผลในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดในผู้ที่เป็นเบาหวานต่อไป 2020-04-02T14:46:49Z 2020-04-02T14:46:49Z 2562 พยาบาลสาร 46,3 (ก.ค.-ก.ย. 2562) 82-93 0125-5118 https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/218536/151360 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67417 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
กระติ๊บข้าว การบริโภคอาหาร ข้าวเหนียว ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน |
spellingShingle |
กระติ๊บข้าว การบริโภคอาหาร ข้าวเหนียว ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ศิริรัตน์ ปานอุทัย จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช ชมพูนุท ศรีรัตน์ นิพนธ์ ธีรอำพน การพัฒนา “กระติ๊บข้าว” สำหรับควบคุมปริมาณการบริโภคในผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน |
description |
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ
2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ
3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล |
author |
ศิริรัตน์ ปานอุทัย จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช ชมพูนุท ศรีรัตน์ นิพนธ์ ธีรอำพน |
author_facet |
ศิริรัตน์ ปานอุทัย จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช ชมพูนุท ศรีรัตน์ นิพนธ์ ธีรอำพน |
author_sort |
ศิริรัตน์ ปานอุทัย |
title |
การพัฒนา “กระติ๊บข้าว” สำหรับควบคุมปริมาณการบริโภคในผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน |
title_short |
การพัฒนา “กระติ๊บข้าว” สำหรับควบคุมปริมาณการบริโภคในผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน |
title_full |
การพัฒนา “กระติ๊บข้าว” สำหรับควบคุมปริมาณการบริโภคในผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน |
title_fullStr |
การพัฒนา “กระติ๊บข้าว” สำหรับควบคุมปริมาณการบริโภคในผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน |
title_full_unstemmed |
การพัฒนา “กระติ๊บข้าว” สำหรับควบคุมปริมาณการบริโภคในผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน |
title_sort |
การพัฒนา “กระติ๊บข้าว” สำหรับควบคุมปริมาณการบริโภคในผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/218536/151360 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67417 |
_version_ |
1681426631289208832 |