ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและได้รับการทำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีย์ผ่านสายสวน
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิ...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/218544/151367 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67426 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-67426 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-674262020-04-02T14:46:49Z ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและได้รับการทำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีย์ผ่านสายสวน Factors Predicting Health Promoting Behaviors Among Persons with Coronary Artery Disease and Undergone Percutaneous Coronary Intervention อลงกรณ์ สุขเรืองกูล ทวีลักษณ์ วรรณฤทธิ์ จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ โรคหลอดเลือดหัวใจ การทำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือด โคโรนารีย์ผ่านสายสวน วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล ผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและรักษาด้วยการทำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีย์ผ่านสายสวนจำเป็นต้องมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ การศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของการรับรู้ประโยชน์ และการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน และการสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ และได้รับการทำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีย์ผ่านสายสวน ที่มารับบริการที่ห้องตรวจโรคหัวใจ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2557 จำนวน 106 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive sampling) เครื่องมือในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบสอบถามพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่ได้รับการขยายหลอดเลือดหัวใจ 3) แบบสอบถามการรับรู้ประโยชน์ของพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ที่ได้รับหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีย์ผ่านสายสวน 4) แบบสอบถามการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและได้รับการทำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีย์ผ่านสายสวน 5) แบบสอบถามการรับรู้ความสามารถของตนเองในการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ป่วยโรคหัวใจโคโรนารี่ และ 6) แบบสอบถามแรงสนับสนุนทางสังคมของผู้ป่วยที่มารับการขยายหลอดเลือดหัวใจ โดยการใส่หลอดตาข่าย และได้ทำการทดสอบความเชื่อมั่นและความเที่ยงตรงของเครื่องมือทั้งหมดแล้ว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนผลการศึกษา พบว่า การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน และการสนับสนุนทางสังคม สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ และได้รับการทำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีย์ผ่านสายสวนได้ร้อยละ 57.20 (p< .001) ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจที่ได้รับการทำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีย์ผ่านสายสวนต่อไป 2020-04-02T14:46:49Z 2020-04-02T14:46:49Z 2562 พยาบาลสาร 46,3 (ก.ค.-ก.ย. 2562) 118-129 0125-5118 https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/218544/151367 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67426 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ โรคหลอดเลือดหัวใจ การทำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือด โคโรนารีย์ผ่านสายสวน |
spellingShingle |
พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ โรคหลอดเลือดหัวใจ การทำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือด โคโรนารีย์ผ่านสายสวน อลงกรณ์ สุขเรืองกูล ทวีลักษณ์ วรรณฤทธิ์ จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและได้รับการทำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีย์ผ่านสายสวน |
description |
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ
2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ
3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล |
author |
อลงกรณ์ สุขเรืองกูล ทวีลักษณ์ วรรณฤทธิ์ จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช |
author_facet |
อลงกรณ์ สุขเรืองกูล ทวีลักษณ์ วรรณฤทธิ์ จิราภรณ์ เตชะอุดมเดช |
author_sort |
อลงกรณ์ สุขเรืองกูล |
title |
ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและได้รับการทำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีย์ผ่านสายสวน |
title_short |
ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและได้รับการทำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีย์ผ่านสายสวน |
title_full |
ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและได้รับการทำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีย์ผ่านสายสวน |
title_fullStr |
ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและได้รับการทำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีย์ผ่านสายสวน |
title_full_unstemmed |
ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและได้รับการทำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีย์ผ่านสายสวน |
title_sort |
ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและได้รับการทำหัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีย์ผ่านสายสวน |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/218544/151367 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67426 |
_version_ |
1681426633036136448 |