ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของชายวัยทองในชุมชน

วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: จุฬาลักษณ์ ฟักแก้ว, วราภรณ์ บุญเชียง, พนิดา จันทโสภีพันธ์
Language:Tha
Published: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/218550/151370
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67428
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67428
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-674282020-04-02T14:46:50Z ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของชายวัยทองในชุมชน Factors Related to Health–Promoting Behaviors Among Andropause in Community จุฬาลักษณ์ ฟักแก้ว วราภรณ์ บุญเชียง พนิดา จันทโสภีพันธ์ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพของชายวัยทอง ชายวัยทอง วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล ชายวัยทอง เป็นช่วงหนึ่งของวงจรชีวิตมนุษย์ ที่มีการเสื่อมของร่างกายตามอายุที่มากขึ้น และพบปัญหาด้านสุขภาพ เนื่องมาจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ดังนั้นการทราบถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดพฤติกรรมจะช่วยให้สามารถส่งเสริมให้บุคคลมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมได้การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของชายวัยทองในชุมชน และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของชายวัยทองในชุมชน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ชายวัยทอง ที่มีอายุระหว่าง 40-59 ปี อาศัยอยู่ที่อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ โดยการสุ่มแบบเจาะจง จำนวน 110 คน เก็บข้อมูลในช่วงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2560 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยสร้างจากการทบทวนวรรณกรรม โดยใช้แนวคิดรูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษามีความตรงของเนื้อหา เท่ากับ .96 และมีค่าความเชื่อมั่นอยู่ระหว่าง .71 ถึง .86 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์หาความสัมพันธ์โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมนผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับดี (x_ = 94.85,S.D. = 10.98) โดยด้านพฤติกรรมการรับประทานอาหารมีคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด (x_ = 25.75, S.D. = 3.69) ส่วนคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุดคือด้านพฤติกรรมการออกกำลังกาย (x_ = 15.22, S.D. = 3.45) ส่วนปัจจัยการรับรู้ประโยชน์ ปัจจัยการรับรู้สมรรถนะของตน ปัจจัยด้านความรู้สึกที่มีต่อการปฏิบัติพฤติกรรม ปัจจัยอิทธิพลความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และปัจจัยอิทธิพลด้านสถานการณ์ มีความสัมพันธ์ทางบวก กับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .324, p< .001, r = .620, p< .001, r = .674, p< .001, r = .580, p< p< .001, r = .591, p< p< .001) ตามลำดับ แต่ปัจจัยการรับรู้อุปสรรคมีความสัมพันธ์เชิงลบ กับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -.429, p< p< .001) ผลการวิจัยในครั้งนี้ สามารถเป็นข้อมูลพื้นฐานให้กับหน่วยงานทางด้านสุขภาพ ในการส่งเสริมชายวัยทองให้มีการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพที่เหมาะสมต่อไปได้ 2020-04-02T14:46:49Z 2020-04-02T14:46:49Z 2562 พยาบาลสาร 46,3 (ก.ค.-ก.ย. 2562) 130-141 0125-5118 https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/218550/151370 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67428 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพของชายวัยทอง
ชายวัยทอง
spellingShingle ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพของชายวัยทอง
ชายวัยทอง
จุฬาลักษณ์ ฟักแก้ว
วราภรณ์ บุญเชียง
พนิดา จันทโสภีพันธ์
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของชายวัยทองในชุมชน
description วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล
author จุฬาลักษณ์ ฟักแก้ว
วราภรณ์ บุญเชียง
พนิดา จันทโสภีพันธ์
author_facet จุฬาลักษณ์ ฟักแก้ว
วราภรณ์ บุญเชียง
พนิดา จันทโสภีพันธ์
author_sort จุฬาลักษณ์ ฟักแก้ว
title ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของชายวัยทองในชุมชน
title_short ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของชายวัยทองในชุมชน
title_full ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของชายวัยทองในชุมชน
title_fullStr ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของชายวัยทองในชุมชน
title_full_unstemmed ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของชายวัยทองในชุมชน
title_sort ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของชายวัยทองในชุมชน
publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/218550/151370
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67428
_version_ 1681426633433546752