ทัศนคติ บรรทัดฐานของสังคม การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดของผู้ดูแลเด็ก
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิ...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Language: | Tha |
Published: |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/218564/151384 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67432 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chiang Mai University |
Language: | Tha |
id |
th-cmuir.6653943832-67432 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cmuir.6653943832-674322020-04-02T14:46:50Z ทัศนคติ บรรทัดฐานของสังคม การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดของผู้ดูแลเด็ก Attitudes, Norms, Perceived Behavioral Control, and Intention to Practice for Postoperative Recovery Among Caregivers of Children มนทิรา ใหม่แก้ว อุษณีย์ จินตะเวช จุฑารัตน์ มีสุขโข ทัศนคติ บรรทัดฐานของสังคม การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม และความตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัด วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ 2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล การปฏิบัติหลังผ่าตัดของผู้ดูแลเด็กขณะนอนรักษาในโรงพยาบาลอย่างรวดเร็วทำให้เด็กฟื้นสภาพหลังผ่าตัดได้เร็วขึ้นและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน การวิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติ บรรทัดฐานของสังคม การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดของผู้ดูแลเด็ก และความสัมพันธ์ระหว่าง ทัศนคติ บรรทัดฐานของสังคมการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดของผู้ดูแลเด็ก โดยใช้แนวคิดทฤษฎีการวางแผนพฤติกรรมของ Ajzen (1991) ร่วมกับการทบทวนวรรณกรรมกลุ่มตัวอย่างเลือกเข้าตามเกณฑ์จำนวน 106 ราย ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ 3 แห่ง ตั้งแต่เดือนสิงหาคม ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2557 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลได้แก่ (1) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของผู้ดูแลเด็กและเด็ก (2) แบบสอบถามความตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดของผู้ดูแลเด็ก มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ .87 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .87 และแบบสอบถามทัศนคติบรรทัดฐานของสังคม และการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .84 ค่าความเชื่อมั่น ด้านทัศนคติ ด้านบรรทัดฐานของสังคม และด้านการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม คือ .85 .86 และ .72 ตามลำดับ ซึ่งแบบสอบถามทั้ง 2 ชุด ดัดแปลงมาจากแบบสอบถามของ Tourigny et al., (2005) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และสถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สันผลการศึกษาพบว่า1. กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมีคะแนนความตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อการฟื้อสภาพโดยรวมในระดับมาก ร้อยละ60.38 มีทัศนคติในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 100 มีบรรทัดฐานของสังคมในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดโดยรวมอยู่ในระดับสูง และร้อยละ 72.64 มีการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง2. ทัศนคติความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับความตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดของผู้ดูแลเด็กในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .41, p < .01) บรรทัดฐานของสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับความตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดของผู้ดูแลเด็กในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .50, p < .01) ผลการวิจัยนี้ทำให้เข้าใจทัศนคติ บรรทัดฐานของสังคม การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดของผู้ดูแลเด็ก บุคลากรสุขภาพอาจใช้ข้อมูลนี้สำหรับวางแผนเพื่อช่วยเหลือผู้ดูแลเด็กและใช้ในการทำวิจัยต่อไป 2020-04-02T14:46:50Z 2020-04-02T14:46:50Z 2562 พยาบาลสาร 46,3 (ก.ค.-ก.ย. 2562) 195-206 0125-5118 https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/218564/151384 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67432 Tha คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
institution |
Chiang Mai University |
building |
Chiang Mai University Library |
country |
Thailand |
collection |
CMU Intellectual Repository |
language |
Tha |
topic |
ทัศนคติ บรรทัดฐานของสังคม การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม และความตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัด |
spellingShingle |
ทัศนคติ บรรทัดฐานของสังคม การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม และความตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัด มนทิรา ใหม่แก้ว อุษณีย์ จินตะเวช จุฑารัตน์ มีสุขโข ทัศนคติ บรรทัดฐานของสังคม การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดของผู้ดูแลเด็ก |
description |
วารสาร พยาบาลสาร Nursing Journal
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ
2. เพื่อส่งเสริมงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลและสุขภาพ
3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างบุคลากรที่อยู่ในวงการวิชาชีพการพยาบาล |
author |
มนทิรา ใหม่แก้ว อุษณีย์ จินตะเวช จุฑารัตน์ มีสุขโข |
author_facet |
มนทิรา ใหม่แก้ว อุษณีย์ จินตะเวช จุฑารัตน์ มีสุขโข |
author_sort |
มนทิรา ใหม่แก้ว |
title |
ทัศนคติ บรรทัดฐานของสังคม การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดของผู้ดูแลเด็ก |
title_short |
ทัศนคติ บรรทัดฐานของสังคม การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดของผู้ดูแลเด็ก |
title_full |
ทัศนคติ บรรทัดฐานของสังคม การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดของผู้ดูแลเด็ก |
title_fullStr |
ทัศนคติ บรรทัดฐานของสังคม การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดของผู้ดูแลเด็ก |
title_full_unstemmed |
ทัศนคติ บรรทัดฐานของสังคม การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดของผู้ดูแลเด็ก |
title_sort |
ทัศนคติ บรรทัดฐานของสังคม การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดของผู้ดูแลเด็ก |
publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
publishDate |
2020 |
url |
https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/218564/151384 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67432 |
_version_ |
1681426634227318784 |