การสร้างสรรค์ประติมากรรมตกแต่งเมืองร่วมสมัย สุขภาพวิถีไทย

วารสารวิจิตรศิลป์ ได้เผยแพร่บทความทางด้านศิลปกรรม ในระบบวารสารวิจิตรศิลป์ออนไลน์ (ThaiJO) มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อรัญ วานิชกร
Language:Tha
Published: คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2020
Subjects:
Online Access:https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/122206/153320
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67451
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chiang Mai University
Language: Tha
id th-cmuir.6653943832-67451
record_format dspace
spelling th-cmuir.6653943832-674512020-04-02T14:46:50Z การสร้างสรรค์ประติมากรรมตกแต่งเมืองร่วมสมัย สุขภาพวิถีไทย The Contemporary Urban Sculpture of Thai Traditional Health อรัญ วานิชกร การสร้างสรรค์ ประติมากรรมตกแต่งเมือง ร่วมสมัย สุขภาพวิถีไทย วารสารวิจิตรศิลป์ ได้เผยแพร่บทความทางด้านศิลปกรรม ในระบบวารสารวิจิตรศิลป์ออนไลน์ (ThaiJO) มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรื่องราวความเป็นมาของภูมิปัญญาด้านสุขภาพของไทย จากนั้นนำความบันดาลใจมาออกแบบและสร้างสรรค์หุ่นจำลองต้นแบบประติมากรรมร่วมสมัยที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพด้วยวิถีไทย วิธีการวิจัยและสร้างสรรค์เริ่มจากการศึกษาประติมากรรมสาธารณะในประเทศต่างๆ และนำแรงบันดาลใจจากอัตลักษณ์ของการดูแลสุขภาพวิถีไทยมาวิเคราะห์ในการออกแบบประติมากรรม ออกแบบร่างแนวความคิด พัฒนาแบบจนสมบูรณ์ สร้างหุ่นจำลองชิ้นงานประติมากรรม นำแบบจำลองไปประชุมกลุ่มผู้เกี่ยวข้อง และนำข้อสรุปจากการประชุมมาปรับปรุงชิ้นงานรูปแบบสร้างสรรค์ จากนั้นจัดทำต้นแบบจำลอง และนำเสนอองค์ความรู้วิชาการงานสร้างสรรค์ พร้อมหุ่นจำลองประติมากรรมในงานมหกรรมสมุนไพรแห่งชาติ ผลจากการวิจัยครั้งนี้ได้แนวคิดประติมากรรมเพื่อสื่อความหมาย เรื่องราว การสร้างภาพสัญลักษณ์ที่เป็นตัวแทนการนวดไทยและการหัตถการในลักษณะต่างๆ โดยการคัดเลือกมาสร้างสรรค์จากความงามของท่วงท่า จากนั้นต่อยอดประติมากรรมเพื่อประโยชน์ใช้สอยในพื้นที่สาธารณะ ลดทอนอัตลักษณ์ของการนวดไทยไปสู่นามธรรม และออกแบบประติมากรรมให้สามารถตกแต่งบริเวณและอาคารสถานที่ จากนั้นทดลองออกแบบตกแต่งบริเวณสวนสมุนไพรไทย โดยคำนึงถึงสัปปายะ ความสบาย และสมมติฐานธาตุทั้ง 4 ได้แก่ ดิน น้ำ ลม ไฟ ชุดประติมากรรมสามารถสื่อสารความหมาย เรื่องราว และคุณค่าเอกลักษณ์ของการหัตถการและนวดไทย ในรูปแบบของประติมากรรมร่วมกับประโยชน์ใช้สอยด้วยท่านวดล้อมหม้อยาที่มีน้ำพุอยู่ตรงกลาง มี Lighting ส่องเพื่อความสวยงาม ประติมากรรมเก้าอี้เพื่อการพักผ่อนในสวน ประติมากรรมท่านวดกระดานลื่นในลานโล่งที่มีสนามเด็กเล่น และยังสามารถใช้ประดับตกแต่งอาคารได้อย่างเหมาะสมสวยงาม 2020-04-02T14:46:50Z 2020-04-02T14:46:50Z 2562 วารสารวิจิตรศิลป์ 10,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2562) 32-58 1906-0572 https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/122206/153320 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67451 Tha คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
institution Chiang Mai University
building Chiang Mai University Library
country Thailand
collection CMU Intellectual Repository
language Tha
topic การสร้างสรรค์
ประติมากรรมตกแต่งเมือง
ร่วมสมัย
สุขภาพวิถีไทย
spellingShingle การสร้างสรรค์
ประติมากรรมตกแต่งเมือง
ร่วมสมัย
สุขภาพวิถีไทย
อรัญ วานิชกร
การสร้างสรรค์ประติมากรรมตกแต่งเมืองร่วมสมัย สุขภาพวิถีไทย
description วารสารวิจิตรศิลป์ ได้เผยแพร่บทความทางด้านศิลปกรรม ในระบบวารสารวิจิตรศิลป์ออนไลน์ (ThaiJO) มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม
author อรัญ วานิชกร
author_facet อรัญ วานิชกร
author_sort อรัญ วานิชกร
title การสร้างสรรค์ประติมากรรมตกแต่งเมืองร่วมสมัย สุขภาพวิถีไทย
title_short การสร้างสรรค์ประติมากรรมตกแต่งเมืองร่วมสมัย สุขภาพวิถีไทย
title_full การสร้างสรรค์ประติมากรรมตกแต่งเมืองร่วมสมัย สุขภาพวิถีไทย
title_fullStr การสร้างสรรค์ประติมากรรมตกแต่งเมืองร่วมสมัย สุขภาพวิถีไทย
title_full_unstemmed การสร้างสรรค์ประติมากรรมตกแต่งเมืองร่วมสมัย สุขภาพวิถีไทย
title_sort การสร้างสรรค์ประติมากรรมตกแต่งเมืองร่วมสมัย สุขภาพวิถีไทย
publisher คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
publishDate 2020
url https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/122206/153320
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67451
_version_ 1681426637781991424